Page 66 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 66

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            สนช. ได้มีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติป้องกันและ  คณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์กรณี
            ปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ         ถูกกระท�ทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ    ๕๗
            และให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณา ต่อไป         นายกรัฐมนตรีได้มีค�าสั่งส�านักนายกรัฐมนตรีที่
                                                                ๑๓๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐ และ

            อนึ่ง ภายหลังจากที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพได้    ค�าสั่งส�านักนายกรัฐมนตรีที่ ๑๙๘/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๑๘
            เผยแพร่ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม          สิงหาคม ๒๕๖๐ แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการเรื่องราว
            การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายฯ ฉบับส�าหรับ     ร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ
            การรับฟังความคิดเห็นแล้ว ได้มีการแสดงความห่วง       โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเป็นประธาน        บทที่ ๒

            กังวลจากภาคประชาสังคมบางส่วนต่อการพิจารณาว่า        กรรมการ  และมีผู้แทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
            การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฯ  มีความล่าช้า          รวม ๑๖ แห่งร่วมเป็นกรรมการ มีอ�านาจหน้าที่รับเรื่องราว
            หลักการบางประการถูกตัดออกไปจากร่างพระราชบัญญัติ     ร้องทุกข์ ตรวจสอบติดตาม เยียวยา รวมถึงป้องกัน
            ฉบับเดิมที่เคยเสนอคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการ        การทรมาน และการบังคับบุคคลให้หายสาบสูญขึ้น ทั้งนี้

            สนช.  ซึ่งอาจส่งผลให้ไม่สามารถคุ้มครองสิทธิและ      เพื่อเป็นหลักประกันการคุ้มครองสิทธิให้กับประชาชน
            เสรีภาพของบุคคล ตามหลักการอันเป็นสาระส�าคัญ         อีกทางหนึ่งในระหว่างที่ร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
            ของอนุสัญญา CAT  ได้อย่างเต็มที่ เช่น ๑) หลัก       และปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคล
                              ๕๑
            การไม่สามารถผ่อนปรนได้  ๒) หลักการห้ามผลักดัน       สูญหายฯ ยังไม่มีผลบังคับใช้ ภายใต้คณะกรรมการ
                                   ๕๒
            กลับไปเผชิญอันตราย   ๓)  การห้ามน�าค�าให้การ        ดังกล่าว ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จ�านวน ๔ ด้าน
                                 ๕๓
            ที่ได้มาจากการทรมานมาใช้   ๔)  หลักประกัน           ดังนี้  ๑)  คณะอนุกรรมการติดตามและตรวจสอบ
                                         ๕๔
            เพื่อการป้องกัน และ ๕) บทนิยามของการกระท�าทรมาน     กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ   ๕๘     การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
                         ๕๕
            และการบังคับบุคคลให้สูญหาย  เป็นต้น                 มีอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นประธาน ท�าหน้าที่
                                       ๕๖































            ๕๑  จาก กก.นักนิติศาสตร์สากล-แอมเนสตี้ฯ ผิดหวัง ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันซ้อมทรมาน-อุ้มหายไทย, โดย ประชาไท, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2018/03/75883
            ๕๒  หลักการไม่สามารถผ่อนปรนได้ คือการห้ามการกระท�าที่เป็นการทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหายโดยเด็ดขาด แม้ในขณะที่มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน (CAT ข้อที่ ๒).
            ๕๓  การห้ามส่งบุคคลกลับไปยังสถานที่ซึ่งมีความเสี่ยงว่าบุคคลนั้นจะถูกทรมาน (CAT ข้อ ๓).
            ๕๔  การห้ามน�าค�าให้การหรือข้อมูลใด ๆ ที่ได้จากการทรมานมาใช้เป็นพยานหลักฐานในการด�าเนินคดี (CAT ข้อ ๑๕).
            ๕๕  การก�าหนดให้ทนายความและญาติสามารถเข้าเยี่ยมผู้ถูกควบคุมตัวได้ รวมทั้งได้รับการชี้แจงข้อมูลเกี่ยวกับชะตากรรมและสถานที่ควบคุมตัวอย่างต่อเนื่อง (CPED ข้อ ๑๗ และ ๑๘).
            ๕๖  องค์ประกอบส�าคัญในบทนิยามของการกระท�าให้บุคคลสูญหายและการทรมานตามร่างพระราชบัญญัติฯ ไม่ครบถ้วนและสอดคล้องตาม CAT และ CPED.
            ๕๗  จาก หนังสือกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ ยธ ๐๔๑๗/๓๙๓๑ ลงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์
            ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ประจ�าปี ๒๕๖๑.
            ๕๘  ค�าสั่งคณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับให้หายสาบสูญ ที่ ๑/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐.


                                                                                                               65
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71