Page 62 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 62

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ทั้งในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ และศาล และ    ๔.  โทษประหารชีวิต  รัฐควรมีนโยบายในการตรา
            ควรมีการขยายพื้นที่การด�าเนินโครงการพัฒนาระบบ       กฎหมายใหม่โดยไม่มีโทษประหารชีวิต  ควรมี
            ประเมินความเสี่ยงและก�ากับดูแลในชั้นปล่อยชั่วคราว   การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโทษประหารชีวิตเพื่อน�าไปใช้อ้างอิง
            และโครงการปล่อยชั่วคราวโดยใช้ EM เพื่อให้ประชาชน    และสร้างความรู้ความเข้าใจต่อทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและ

            ได้รับการปล่อยชั่วคราวอย่างทั่วถึง                  ประชาชน  เช่น  การบังคับใช้โทษประหารชีวิต
                                                                มีผลต่อการป้องกันยับยั้งอาชญากรรมหรือไม่ หรือหากมี
            ๓. ส�านักงานกองทุนยุติธรรมควรด�าเนินการสร้างความรับรู้  การยกเลิกโทษประหารแล้วจะมีการบังคับใช้โทษจ�าคุก
            เกี่ยวกับการขอความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรม        อย่างไร  เพื่อให้ประชาชนมั่นใจได้ว่าสังคมยังมี      บทที่ ๒

            แก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ประชาชนเข้าถึง     ความปลอดภัยจากผู้กระท�าผิดร้ายแรง ทั้งนี้ เห็นด้วยกับ
            สิทธิในกระบวนการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรมควรพิจารณา   แนวทางการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตทั้ง ๓ ระยะ
            หาแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรืออุปสรรคในกรณี            ของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
            การขอความช่วยเหลือจากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน

            รวมถึงควรประชาสัมพันธ์และสร้างความเข้าใจกับ         ๕.  ความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อกระบวนการ
            ประชาชนเกี่ยวกับการขอรับความช่วยเหลือจากกองทุน      ยุติธรรม หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมควรที่จะ
            ยุติธรรมในกรณีการขอรับความช่วยเหลือ                 มีการศึกษาวิจัยและถอดบทเรียนจากสถานการณ์
            จากการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น  ทั้งนี้    ต่าง  ๆ  ที่สะท้อนถึงความเชื่อมั่นของประชาชนที่มี

            ในการด�าเนินการของส�านักงานกองทุนยุติธรรมพบว่า      ต่อกระบวนการยุติธรรม เพื่อที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กับ
            มีปัญหาอุปสรรคบางประการ และ กสม. ได้มีข้อเสนอแนะ    ประชาชน  รวมถึงให้ความรู้กับประชาชนเกี่ยวกับ
                                   ๔๒
            ให้แก้ไขระเบียบคณะกรรมการกองทุนยุติธรรมว่าด้วย      การด�าเนินคดีในกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้ประชาชน     การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขอปล่อยชั่วคราว   มีความรู้ความเข้าใจ และเมื่อมีคดีเกิดขึ้นประชาชนจะไม่เรียกร้อง

            ผู้ต้องหาหรือจ�าเลย พ.ศ. ๒๕๕๙ โดยยกเลิกหลักเกณฑ์    ความยุติธรรมโดยวิธีการที่นอกกระบวนการปกติ
            ในการให้ความช่วยเหลือที่ค�านึงถึงสาเหตุหรือพฤติการณ์  หรือวิธีการนอกกฎหมาย
            น่าเชื่อว่ามิได้กระท�าความผิด  ซึ่งกระทรวงยุติธรรม
                                      ๔๓
            ควรพิจารณาเพื่อน�าไปสู่การแก้ไขปัญหาดังกล่าว































            ๔๒  ดูรายละเอียดจากหัวข้อ “การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค”.
            ๔๓  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๓๐ - ๓๑/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑.


                                                                                                               61
   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67