Page 61 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 61
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในเรื่องความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อกระบวนการ และหาวิธีการแก้ไขปัญหา ทั้งนี้ หากแผนปฏิรูป
ยุติธรรม ทั้งในชั้นต�ารวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ถือเป็น ด้านกระบวนการยุติธรรมมีการบังคับใช้อย่างเป็นรูปธรรม
สิ่งส�าคัญที่จะท�าให้ประชาชนยึดมั่นในความถูกต้อง อาจช่วยให้ประชาชนมีความเชื่อมั่นต่อกระบวนการ
ชอบธรรมและปฏิบัติตนตามกฎหมาย และเมื่อมีคดีความ ยุติธรรมมากขึ้น
เกิดขึ้นจะท�าให้ประชาชนไม่ใช้วิธีการที่ไม่ถูกต้อง
เพื่อเรียกร้องความยุติธรรม โดยในแผนปฏิรูปประเทศ ข้อเสนอแนะ
ด้านกระบวนการยุติธรรมได้มีการก�าหนดเรื่องการพัฒนา ๑. ในการปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม และการด�าเนินการ
ระบบการสอบสวนเพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการปฏิบัติ ของรัฐในประเด็นต่าง ๆ ได้มีการจัดท�ากฎหมาย
หน้าที่ของพนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการไว้ ทั้งกฎหมายใหม่ และปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่มีอยู่
และในร่างแผนแม่บทการบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ โดยขั้นตอนในปัจจุบันก็มีการให้ความส�าคัญกับการมี
ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) ได้มีการก�าหนด ส่วนร่วมในการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและ
ตัวชี้วัดในภาพรวมคือความเชื่อมั่นของประชาชนที่มีต่อ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเห็นว่า ในกระบวนการที่จัด
กระบวนการยุติธรรมที่เพิ่มขึ้น และในยุทธศาสตร์ที่ ๓ ให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนนั้นควรมี
การพัฒนากฎหมายและระบบบริหารงานยุติธรรมได้มี ช่องทางให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างง่ายและทั่วถึง และ
การก�าหนดเป้าหมายหนึ่งคือประชาชนมีความพึงพอใจ ควรมีการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความรับรู้แก่ประชาชน
และความเชื่อมั่นต่อการด�าเนินงานของกระบวนการ ในวงกว้าง เพื่อให้ประชาชนโดยทั่วไปรับทราบว่ามี
ยุติธรรม จะเห็นได้ว่ารัฐได้ตระหนักถึงความส�าคัญ กฎหมายใดที่อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็น ซึ่งการใช้
ของการด�าเนินการเพื่อให้ประชาชนมีความเชื่อมั่น เว็บไซต์ท�าให้ประชาชนส่วนหนึ่งเข้าถึงได้ง่าย แต่หาก
ต่อกระบวนการยุติธรรม อย่างไรก็ตาม จากเหตุการณ์ต่าง ๆ ไม่มีการประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึง ประชาชนอาจไม่ทราบ
ที่เกิดขึ้น เช่น กรณีกระโดดตึกศาลอาญา และกรณี ว่ามีการรับฟังความคิดเห็นในกฎหมายฉบับนั้น ๆ
การน�าศพผู้เสียชีวิตมาเรียกร้องความเป็นธรรม
ในการด�าเนินคดีที่กองบังคับการปราบปราม สะท้อนถึง ๒. ในการปล่อยชั่วคราว เห็นควรให้มีการผลักดันการใช้
ความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรมของประชาชน หนังสือรับรองแทนการช�าระเงินของส�านักงานกองทุน
ซึ่งหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมควรที่ตระหนักถึงปัญหานี้ ยุติธรรมเพื่อเป็นหลักประกันในการขอปล่อยชั่วคราว
60