Page 60 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 60

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



                                                                แต่การบังคับใช้โทษดังกล่าวหลังจากที่ไทยไม่มีการบังคับใช้
                                                                โทษประหารชีวิตนับแต่เดือนสิงหาคม  ๒๕๕๒
                                                                อาจเป็นเหตุการณ์ที่สวนทางกับความพยายามอย่างต่อเนื่อง
                                                                ของไทยในการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต

                                                                เป็นจ�าคุกตลอดชีวิต รวมถึงการประกาศใช้พระราชบัญญัติ
                                                                ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
                                                                การทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ ที่ไม่มีการก�าหนดโทษประหาร
                                                                                                                    บทที่ ๒
                                                                ชีวิตดังเช่นในกฎหมายฉบับเดิม
                                                                                           ๔๑

                                                                ดังนั้น การด�าเนินการเพื่อน�าไปสู่การยกเลิกโทษประหาร
                                                                ชีวิตในขณะที่สังคมยังไม่เห็นด้วยกับการยกเลิกโทษ
                                                                ประหารชีวิตจึงต้องมีการด�าเนินการอย่างต่อเนื่อง

                                                                โดยรัฐควรมีนโยบายที่จะไม่ก�าหนดโทษประหารชีวิต
            เพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตให้เข้าสู่    ในการตรากฎหมายใหม่ และควรด�าเนินการศึกษาวิจัย
            การพิจารณาของรัฐสภาเป็นโทษจ�าคุกตลอดชีวิต  ที่ผ่านมา    เกี่ยวกับโทษประหารชีวิตกับการป้องกันอาชญากรรม
                                                  ๓๙
            กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพมีการด�าเนินการตาม        รวมทั้งสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สังคมอย่างต่อเนื่อง

            มาตรการที่ก�าหนด เช่น มีการศึกษาวิจัยความเป็นไปได้   ทั้งนี้  กสม.  เห็นด้วยกับแนวทางการเปลี่ยนแปลง
            เกี่ยวกับการยกเลิกโทษประหารชีวิต สร้างความตระหนักรู้   โทษประหารชีวิต ๓ ระยะของกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
            และรับฟังความเห็นสาธารณชน  ได้มีการจัดท�า           และเห็นว่า การที่กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพด�าเนินการ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            แนวทางการเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต ๓ ระยะ           ศึกษาเพื่อแก้ไขฐานความผิดที่มีอัตราโทษประหาร

            ได้แก่ ๑) การปรับอัตราโทษในความผิดบางประเภท         ชีวิตสถานเดียวหรือลดฐานความผิดที่มีอัตราโทษ
            จากที่มีโทษประหารชีวิตเป็นโทษสถานเดียวเป็นอัตรา     ประหารชีวิต และเสนอแนะมาตรการอื่นที่เหมาะสม
            โทษสูงสุด ๒) การยกเลิกโทษประหารชีวิตในบางฐาน        มารองรับ  จะเป็นประโยชน์ในการด�าเนินงาน
            ความผิดที่ไม่เกี่ยวกับชีวิตหรือไม่ส่งผลต่อความตาย   ตามแนวทางรณรงค์เปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิต

            ของผู้อื่น และ ๓) การยกเลิกโทษประหารชีวิตในฐาน
            ความผิดที่เหลือทั้งหมดลงในร่างแผนสิทธิมนุษยชน
            ฉบับที่ ๔ ศึกษาความพร้อมของประเทศไทยเกี่ยวกับ
            การให้สัตยาบันพิธีสารเลือกรับ ฉบับที่ ๒ ของกติกา ICCPR

            (เรื่องการยกเลิกโทษประหารชีวิต) การสร้างเรือนจ�า
            ความมั่นคงสูงเพื่อรองรับนักโทษอุกฉกรรจ์  อย่างไร
                                                  ๔๐
            ก็ตาม ในปี ๒๕๖๑ ได้มีการบังคับใช้โทษประหารชีวิต
            เมื่อวันที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๑ ในคดีฆ่าผู้อื่นอย่างทารุณ

            เพื่อชิงทรัพย์  แม้ว่าการบังคับใช้โทษประหารชีวิต
            ในความผิดที่กระท�าต่อชีวิตอันถือว่าเป็นอาชญากรรม
            ร้ายแรงที่สุดและไม่ขัดต่อข้อ  ๖  ตามกติกา  ICCPR



            ๓๙  แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) ด้านกระบวนการยุติธรรม ข้อ ๑ การเปลี่ยนแปลงโทษประหารชีวิตให้เข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาเป็นโทษจ�าคุก
            ตลอดชีวิต โดยมีขั้นตอนดังนี้ ๑) เผยแพร่ให้ความรู้ด้านกฎหมายสิทธิมนุษยชน ๒) พยายามด�าเนินการเพื่อพักการประหารชีวิต ๓) เสนอแก้กฎหมายเพื่อลดจ�านวนความผิดที่มีโทษ
            ประหารชีวิต ๔) ลงนามและให้สัตยาบัน OP-ICCPR เรื่องโทษประหารชีวิต และ ๕) สร้างเรือนจ�าความมั่นคงสูงเพื่อรองรับนักโทษอุกฉกรรจ์.
            ๔๐  จาก หนังสือกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ ยธ ๐๔๑๖/๔๐๖๐ ลงวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๖๐ เรื่อง ข้อมูลการด�าเนินการตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓.
            ๔๑  จาก พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๘. (๒๕๕๘, ๙ กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๒ (ตอน ๖๐ก), ๑- ๙.


                                                                                                               59
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65