Page 59 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 59
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ในการให้บริการ และส่วนภูมิภาคมีการรายงานข้อมูล
ที่ช้าและมีความผิดพลาดเนื่องจากความไม่ต่อเนื่อง
ของบุคลากร
หน่วยงานรัฐได้พยายามประชาสัมพันธ์สร้างความรับรู้
แก่ประชาชนในการที่จะขอรับความช่วยเหลือ
ในด้านต่าง ๆ ให้มากขึ้นในหลายช่องทาง เช่น กระทรวง
ยุติธรรมได้มีหนังสือขอความร่วมมือประชาสัมพันธ์
ภารกิจกองทุนยุติธรรมไปยังหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้อง ๓๓
การเผยแพร่ข้อมูลทางเว็บไซต์ส�านักงานกองทุนยุติธรรม
ทางสื่อสังคมออนไลน์ (facebook) การใช้คิวอาร์โค้ดใน
การเข้าถึงข้อมูล รวมถึงการจัดท�าแผนภาพอินโฟกราฟิกส์
(Infographics) เสนอข้อมูลแก่ประชาชนอย่างต่อเนื่อง
นอกจากนี้ หน่วยงานของรัฐได้มีการด�าเนินโครงการต่าง ๆ ในเรื่องโทษประหารชีวิต กติกา ICCPR ข้อ ๖ ได้รับรอง
เพื่อให้การให้ความช่วยเหลือตามพระราชบัญญัติ ว่ามนุษย์ทุกคนมีสิทธิที่จะมีชีวิตมาแต่ก�าเนิด สิทธินี้
กองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ เป็นไปอย่างทั่วถึง ต้องได้รับการคุ้มครองโดยกฎหมาย และในประเทศที่
และมีประสิทธิภาพ ได้แก่ การสัมมนาเรื่องประชาชน ยังมิได้ยกเลิกโทษประหารชีวิต การลงโทษประหารชีวิต
จะได้รับความช่วยเหลือจากกองทุนยุติธรรมอย่างไร ๓๔ อาจกระท�าได้เฉพาะกรณีคดีอุกฉกรรจ์ที่สุด (most serious
การประชุมวิพากษ์ผลการศึกษาวิจัยโครงการติดตาม crimes) ตามกฎหมายที่ใช้ในขณะกระท�าความผิด ๓๗
และประเมินผลการบังคับใช้พระราชบัญญัติกองทุน โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนประจ�ากติกา ICCPR ได้มี
ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ อีกทั้งยังน�ามาตรการจูงใจ ข้อสังเกตต่อรายงานการปฏิบัติตามกติกาฯ ฉบับที่
๓๕
ทางด้านภาษีมาปรับใช้ เพื่อให้มีการบริจาคเงินหรือ สองของประเทศไทย เมื่อเดือนมีนาคม ๒๕๖๐ ว่า
ทรัพย์สินให้แก่กองทุนยุติธรรม โดยการตราพระราชกฤษฎีกา กฎหมายภายในประเทศยังคงก�าหนดโทษประหาร
ออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้น เป็นบทลงโทษส�าหรับความผิดอาญาต่าง ๆ ที่ไม่สอดคล้อง
รัษฎากร (ฉบับที่ ๖๕๑) พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อยกเว้นภาษีเงินได้ กับหลักเกณฑ์ของอาชญากรรมร้ายแรงที่สุดตามนัยของ
๓๖
ให้แก่บุคคลธรรมดาและบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ข้อ ๖ (๒) ของกติกานี้ เช่น การทุจริต การติดสินบน และคดี
ส�าหรับการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่กองทุนยุติธรรม ยาเสพติด หากรัฐยังคงมีการใช้โทษประหารชีวิตต่อไป
เพื่อให้กองทุนสามารถให้ความช่วยเหลือประชาชน รัฐควรด�าเนินมาตรการต่าง ๆ ที่จ�าเป็นรวมทั้งมาตรการ
ได้มากขึ้น ทางกฎหมาย เพื่อประกันว่าจะมีการใช้โทษประหาร
เฉพาะกับอาชญากรรมร้ายแรงที่สุด
๓๘
อย่างไรก็ตาม ในปี ๒๕๖๑ มีสถานการณ์ที่น่าห่วงใย
๒ ประการ ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวกับโทษประหารชีวิต แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ –
และความเชื่อมั่นของประชาชนต่อกระบวนการยุติธรรม ๒๕๖๑) ด้านกระบวนการยุติธรรมได้ก�าหนดมาตรการ
๓๓ จาก หนังสือกระทรวงยุติธรรม ที่ ยธ ๐๒๑๐๖/ว๑๘๔ ลงวันที่ ๒๗ เมษายน ๒๕๖๑ เรื่องขอความร่วมมือประชาสัมพันธ์ภารกิจกองทุนยุติธรรม.
๓๔ จัดโดยคณะกรรมาธิการการกฎหมาย กระบวนการยุติธรรมและกิจการต�ารวจ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
๓๕ จัดโดยส�านักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม.
๓๖ จาก พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากรว่าด้วยการยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ ๖๕๑) พ.ศ. ๒๕๖๑. (๒๕๖๑, ๒๖ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (ตอน ๔ก), ๗ – ๙.
๓๗ จาก กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ ๖ (น. ๓๐), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or.th/
Human-Rights-Knowledge/International-Human-Rights-Affairs/International-Law-of-human-rights/ICCPR_th.aspx
๓๘ From Concluding observations on the second periodic report of Thailand, by Human Rights Committee, 2560. Retrieved from https://tbinternet.ohchr.org/
_layouts/treatybodyexternal/Download.aspx?symbolno=CCPR%2fC%2fTHA%2fCO%2f2&Lang=en
58