Page 57 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 57

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑






























          มีการใช้เฉพาะบางศาลเท่านั้นและผลการศึกษาวิจัยเรื่อง   การขอรับความช่วยเหลือได้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น และ
          การบริหารความเสี่ยงในเชิงพฤติกรรมยังไม่เสร็จสิ้น    ในขณะนี้อยู่ระหว่างการด�าเนินโครงการติดตามและ
          จึงพบว่า  มีกรณีที่ศาลชั้นต้นไม่อนุญาตให้ปล่อยตัว   ประเมินผลการบังคับใช้พระราชบัญญัติค่าตอบแทน
          ชั่วคราวเนื่องจากกลัวหลบหนี  ทั้งที่ผู้ต้องหามีที่อยู่   ผู้เสียหายฯ นอกจากนี้ แม้ว่าประเทศไทยจะมีการบัญญัติ

          เป็นหลักแหล่งและเข้ามอบตัวแสดงความบริสุทธิ์ใจ       กฎหมายที่มีการคุ้มครองและเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ
          ส่งผลให้ผู้ต้องขังถูกฝากขังเป็นระยะเวลา ๓ วัน และ   จากการกระท�าความผิดทางอาญาหลายฉบับ  เช่น
          ผลจากการสอบสวนพบว่าผู้ต้องหามิใช่ผู้กระท�าความผิด ๒๘    พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหายฯ  ที่ให้
          หากกรณีดังกล่าวนี้ได้มีการน�า EM หรือระบบประเมิน    การเยียวยาโดยให้ค่าตอบแทนแก่ผู้เสียหายเนื่องจาก

          ความเสี่ยงฯ ผู้ต้องหาอาจไม่ถูกกระทบสิทธิจากการขัง   การกระท�าความผิดอาญาของผู้อื่น พระราชบัญญัติกองทุน
          ระหว่างสอบสวน ทั้งนี้ ที่ผ่านมา กสม. ได้มีข้อสังเกตว่า   ยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ ที่ก�าหนดให้การช่วยเหลือผู้ถูก
          การปล่อยชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหาในคดีอาญาเป็นสิ่งส�าคัญ  ละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือผู้ที่ได้รับผลกระทบจาก
          เพราะเป็นหลักประกันที่จะท�าให้ผู้ถูกกล่าวหาสามารถ   การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน และพระราชบัญญัติคุ้มครอง

          ต่อสู้คดีได้อย่างเป็นธรรม ๒๙                        พยานในคดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๖ ซึ่งก�าหนดมาตรการ
                                                              ในการคุ้มครองพยาน เป็นต้น แต่รัฐยังคงให้ความส�าคัญ
          ในส่วนของการปฏิรูประบบการคุ้มครองผู้ได้รับ          กับการดูแลให้ผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญาได้รับ
          ผลกระทบจากการกระท�าความผิดทางอาญา  รัฐให้           ความคุ้มครองดียิ่งขึ้น โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ

          ความส�าคัญกับการช่วยเหลือผู้เสียหาย รวมถึงจ�าเลยในคดี   ได้ด�าเนินการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนากฎหมายและ
          อาญาที่ศาลตัดสินว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ เห็นได้จากการที่มี  มาตรการในการช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายจาก
          การแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย    การละเมิดสิทธิและเสรีภาพ และจากการกระท�าความผิด
          และค่าทดแทน และค่าใช้จ่ายแก่จ�าเลยในคดีอาญา         ทางอาญา โดยได้จัดท�าร่างพระราชบัญญัติคุ้มครอง

          พ.ศ.  ๒๕๔๔  เพื่อให้ผู้เสียหายและจ�าเลยเข้าถึง      ช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญา พ.ศ. ....


          ๒๘  กรณี น.ส. เอ (นามสมมติ) ถูกคนร้ายขโมยกระเป๋าเมื่อวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๐ และน�าบัตรประชาชนไปเปิดบัญชีธนาคาร ๗ แห่งเพื่อหลอกลวงประชาชน ต่อมา น.ส. เอ
          (นามสมมติ) ได้ถูกต�ารวจกองบังคับการปราบปรามจับกุมตัวและส่งตัวไปยังศาลจังหวัดตาก โดยศาลได้พิจารณาไม่อนุญาตให้ประกันตัว เนื่องจากกลัวหลบหนี จึงถูกฝากขังรวม ๓ วัน
          จากนั้นได้ยื่นค�าร้องขอประกันต่อศาลอุทธรณ์ภาค ๖ โดยศาลได้พิจารณาให้ประกันตัวชั่วคราว เนื่องจากผู้ต้องหามีที่อยู่เป็นหลักแหล่ง และเข้ามอบตัวแสดงความบริสุทธิ์ใจ ต่อมาเมื่อวันที่
          ๑๗ มกราคม ๒๕๖๑ ต�ารวจภูธรจังหวัดตากได้ท�าค�าร้องเสนอต่อศาลยกเลิกค�าร้องผัดฟ้อง ฝากขัง เนื่องจากการสืบสวนสอบสวนได้ความว่ามิใช่ผู้กระท�าความผิดในคดีนี้ และวันที่ ๑๘
          มกราคม ๒๕๖๑ ศาลจังหวัดตากมีค�าสั่งพิจารณาอนุญาต ยกเลิกค�าร้องผัดฟ้องและฝากขัง จาก ศาลตากยกเลิกฝากขังแพะสาวแก๊งโรแมนซ์สแกมแล้ว, โดย ส�านักพิมพ์ข่าวสด, ๒๕๖๑.
          สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/around-thailand/news_712472 และจาก ณิชาโทษต�ารวจท�างานรวบรัดจนติดคุกฟรี, โดย workpoint news, ๒๕๖๑.  สืบค้นจาก
          https://workpointnews.com/2018/01/09/ณิชา-โทษต�ารวจ-ท�างานรว/
          ๒๙  รายงานผลการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่ ๓๒/๒๕๖๑ ลงวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑.


       56
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62