Page 56 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 56

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            เรื่องในขั้นตอนต่าง ๆ ของการด�าเนินคดี การก�าหนดให้  มีฐานะยากจน และท�าให้ประชาชนได้รับการปล่อย
            หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมจัดให้มีระบบติดตาม       ชั่วคราวได้อย่างทั่วถึง ตั้งแต่ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ –
            ตรวจสอบ หรือแจ้งความคืบหน้าของการด�าเนินงาน         ๒๕๖๑ รัฐได้ให้ความช่วยเหลือในการปล่อยชั่วคราว
            ในกระบวนการยุติธรรมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ โดยจะต้อง   จากกองทุนยุติธรรมทั้งหมด ๑,๖๔๐ ราย เป็นจ�านวนเงิน

            เป็นระบบที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงข้อมูลได้   ๓๕๔,๖๖๔,๙๓๑ บาท  และมีแนวทางที่จะใช้หนังสือ
                                                                                   ๒๖
            โดยสะดวกและรวดเร็ว และร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติม   รับรองการช�าระเงินของกองทุนยุติธรรมเป็นหลักประกัน
            ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..)        ในการขอปล่อยชั่วคราวเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการให้
            พ.ศ. .... โดยมีสาระส�าคัญ เช่น การห้ามน�าผู้ถูกจับ   ความช่วยเหลือแก่ประชาชน ซึ่งส�านักงานศาลยุติธรรม   บทที่ ๒

            หรือผู้ต้องหาออกแถลงข่าว การบันทึกภาพและเสียง       เห็นชอบด้วยในหลักการ นอกจากนี้ รัฐได้มีการพัฒนา
            ซึ่งสามารถถ่ายทอดออกได้อย่างต่อเนื่องไว้ในการถาม    ระบบประเมินความเสี่ยงและก�ากับดูแลในชั้นปล่อย
            ค�าให้การหรือสอบปากค�าผู้ต้องหา การก�าหนดให้พนักงาน   ชั่วคราว  และมีการทดลองใช้การปล่อยชั่วคราว
            สอบสวนอาจเสนอความเห็นต่อพนักงานอัยการ               ด้วยก�าไลข้อเท้าอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Monitoring:

            ในการกันผู้ต้องหาคนหนึ่งคนใดไว้เป็นพยาน หรือในกรณี   EM)  ตั้งแต่ปี  ๒๕๖๐  และในปี  ๒๕๖๑  ได้มี
            ที่พนักงานอัยการเห็นสมควร เพื่อเป็นการตรวจสอบถ่วงดุล   การก�าหนดการปฏิรูปการปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�าเลย
            การสอบสวน เป็นต้น  ซึ่งจะเป็นการคุ้มครองสิทธิและ    ในคดีอาญาไว้ในยุทธศาสตร์ที่ ๔ ของร่างแผนแม่บท
                              ๒๕
            เสรีภาพของประชาชนมากยิ่งขึ้น                        การบริหารงานยุติธรรม ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๒ –

                                                                ๒๕๖๕) ในขณะที่ส�านักงานศาลยุติธรรมได้ด�าเนินการ
            ในการให้ความช่วยเหลือและคุ้มครองสิทธิของ            ศึกษาวิจัยเรื่อง  การน�าวิทยาการบริหารความเสี่ยง
            ประชาชน  รัฐได้มีความพยายามอย่างต่อเนื่อง           ในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ      การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
            ในการแก้ปัญหาการไม่ได้รับการปล่อยชั่วคราวเนื่องจาก  ในการปล่อยชั่วคราว  อย่างไรก็ตาม โดยที่การปล่อยชั่วคราว
                                                                                ๒๗































                                                 ก�ไลข้อเท้าอิเล็กทรอนิกส์ (EM)

            ๒๕  จาก สรุปข่าวการประชุม ครม. ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๑. คณะรัฐมนตรีอนุมัติหลักการตามที่ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเสนอ และให้ส่ง
            ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณา, โดย รัฐบาลไทย, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.thaigov.go.th/news/contents/details/17752
            ๒๖  จาก หนังสือส�านักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ด่วนที่สุด ที่ ยธ ๐๒๑๐๖/๒๙๖๔ ลงวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ขอจัดส่งข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมิน
            สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๑.
            ๒๗  จาก การสัมมนารับฟังความคิดเห็น โครงการวิจัย เรื่อง การน�าวิทยาการบริหารความเสี่ยงในเชิงพฤติกรรมศาสตร์มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปล่อยชั่วคราว,
            โดย กองสารนิเทศและประชาสัมพันธ์ ส�านักงานศาลยุติธรรม, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.iprd.coj.go.th/doc/data/iprd/iprd_1516605803.pdf


                                                                                                               55
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61