Page 31 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 31
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ส่วนที่ ๔ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนใน ๓ ประเด็นที่อยู่ในความห่วงใย
มี ๓ ประเด็น คือ
สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ในภาพรวม การด�าเนินการของรัฐมีพัฒนาการ ตามประมวลกฎหมายที่ดิน การรับรองสิทธิชุมชนที่จะมีส่วนร่วม
ที่ส�าคัญ ๒ ด้าน ด้านแรกเป็นการด�าเนินการ ในการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมในพระราชบัญญัติ
ตามพระราชบัญญัติแผนและขั้นตอนการด�าเนินการ ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
ปฏิรูปประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๐ โดยจัดท�ากรอบ กลไก (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ และการประกาศวาระแห่งชาติ
และมาตรการขับเคลื่อนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การจัดท�า ด้านการก�าจัดขยะ (ตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ เป็นต้นมา)
แผนการปฏิรูปประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมที่ผ่านการเห็นชอบของ ครม. และ สนช. อย่างไรก็ตาม ในการประเมินสถานการณ์พบปัญหาหลัก
เมื่อวันที่ ๑๓ และ ๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑ ตามล�าดับ ได้แก่ การจ�ากัดและควบคุมการใช้สิทธิของชุมชน
และการแต่งตั้งคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมายในระยะ ในการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิและคัดค้านโครงการต่าง ๆ
เร่งด่วนเพื่อด�าเนินงานตามกรอบการปฏิรูปประเทศและ ที่มีผลกระทบต่อชุมชน ชุมชนไม่สามารถมีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ชาติโดยมีภารกิจครอบคลุมกฎหมายที่ดิน ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในเรื่อง
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการมีส่วนร่วม การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการเข้าร่วมการรับฟัง
ของประชาชน ด้านที่สองเป็นการก�าหนดนโยบาย ความเห็น การที่รัฐไม่มีมาตรการการป้องกันและแก้ไข
เกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ การจัดที่ดิน ผลกระทบต่าง ๆ ต่อชุมชน รวมทั้งการขาดการเยียวยา
ท�ากินให้ชุมชนและการแก้ไขปัญหาที่ดินท�ากิน ผลกระทบต่อประชาชนและชุมชนในพื้นที่จากโครงการ
ของประชาชนในเขตป่าไม้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาหรือการประกอบกิจการบางประเภทอย่างมี
ด้านการบริหารจัดการแร่ และการแก้ไขปัญหาการท�าไม้ ประสิทธิภาพและประสิทธิผล การใช้ค�าสั่ง (อาทิ ค�าสั่ง
หวงห้ามในที่ดินที่มีกรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครอง คสช. ที่ ๓/๒๕๕๙ ที่ ๔/๒๕๕๙ และที่ ๔๗/๒๕๖๐)
30