Page 32 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 32

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            เพื่อยกเว้นการใช้กฎหมายผังเมืองรวมส�าหรับ           สถานการณ์ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
            การด�าเนินงานในบางพื้นที่ ปัญหาการแพร่กระจายและ     ในภาพรวมพบว่า  มีพัฒนาการที่ดีใน  ๓  ด้าน  คือ
            การเพิ่มขึ้นของมลพิษเกินกว่าค่ามาตรฐานมลพิษในอากาศ    (๑) การลดลงของจ�านวนเหตุการณ์ ผู้เสียชีวิต และ
            การใช้สารเคมีอันตรายในผลผลิตทางการเกษตรและ          ผู้ได้รับบาดเจ็บจากความไม่สงบ (๒) ความคืบหน้าของ

            อาหาร การน�าเข้าขยะพิษและขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ผิด    การด�าเนินกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข โดยได้พื้นที่  บทสรุปผู้บริหาร
            กฎหมาย และการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะจากอาหาร          ปลอดภัยน�าร่อง จ�านวน ๑ อ�าเภอ (อ�าเภอเจาะไอร้อง)
            (ร้อยละ  ๖๔  ของขยะทั้งหมด)  และขยะในทะเล           ซึ่งปัจจุบันอยู่ระหว่างการท�ากระบวนการรับฟังความเห็น
            กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๓ ข้อ คือ (๑) การพิจารณาทบทวน   และข้อมูลสาธารณะเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วม

            มาตรการตรวจสอบการประกอบกิจการของโรงงาน              ในการก�าหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยพื้นที่ร่วมกับ
            อุตสาหกรรมหรือกิจการอื่นที่อาจส่งผลกระทบต่อ         ภาครัฐ และการยกเลิกการประกาศใช้พระราชก�าหนด
            สิ่งแวดล้อมอย่างจริงจัง เพื่อป้องกันปัญหาการทิ้งกาก  การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๕๘
            ของเสียหรือสารพิษสู่สิ่งแวดล้อม (๒) เร่งแก้ไขปัญหา  เพิ่มเติม ๒ เขตพื้นที่ (อ�าเภอเบตง จังหวัดยะลา และ

            ประชาชนที่ได้รับผลกระทบด้านสุขภาพและความเป็นอยู่    อ�าเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส) โดยน�าพระราชบัญญัติ
            จากการประกอบกิจการต่าง ๆ เช่น การท�าเหมืองแร่       การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๔๑
            โดยเฉพาะเหมืองทองค�า  รวมถึงดูแลให้ผู้ได้รับ        มาบังคับใช้แทน  และ  (๓)  การมีมาตรการเชิงรุก
            ผลกระทบได้รับการเยียวยาอย่างเป็นธรรม  และ           ในการแก้ไขปัญหามิติอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ การฟื้นฟู

            (๓) การส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการ   ระบบเฝ้าระวังโภชนาการหญิงตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย  ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิด         โครงการมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันแรกของชีวิต การบริหารจัดการ
            ความยั่งยืน รวมทั้งการเร่งพิจารณาออกกฎหมายที่ส่งเสริม   อาหารกลางวันที่มีคุณภาพและปริมาณที่เหมาะสม และ
            การใช้สิทธิชุมชน  เช่น  พระราชบัญญัติสิทธิชุมชน     การติดตามประเมินภาวะทุพโภชนาการของเด็กเป็นระยะ

            พระราชบัญญัติป่าชุมชน พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสาร
            สาธารณะ และการปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องหรือ
            ขั้นตอนปฏิบัติต่าง  ๆ  เพื่อให้ชุมชนสามารถใช้สิทธิ
            ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ได้รับ

            การรับรองในรัฐธรรมนูญได้อย่างแท้จริง


































                                                                                                               31
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37