Page 30 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 30

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            นักปกป้องสิทธิมนุษยชนถูกฟ้องร้องและด�าเนินคดี       (๑)  รัฐควรเร่งพิจารณาร่างพระราชบัญญัติป้องกัน
            เพิ่มมากขึ้น ในปี ๒๕๖๑ รัฐมีการด�าเนินการที่ส�าคัญคือ    และปราบปรามการทรมานและการกระท�าให้บุคคล
            มีการจัดท�ากฎหมายซึ่งจะช่วยให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชน   สูญหาย พ.ศ. .... เพื่อให้มีการประกาศใช้บังคับโดยเร็ว
            ได้รับความคุ้มครองมากขึ้น ๒ ฉบับ ฉบับแรก ได้แก่     และเพื่อเป็นหลักประกันให้นักปกป้องสิทธิมนุษยชนได้รับ

            ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขประมวลวิธีกฎหมายพิจารณา       การคุ้มครองสิทธิดียิ่งขึ้น  สอดคล้องกับค�ามั่น      บทสรุปผู้บริหาร
            ความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... โดยแก้ไขมาตรา ๑๖๑/๑    โดยสมัครใจภายใต้กระบวนการ UPR รอบที่ ๒ ที่ก�าหนด
            เพื่อป้องกันการฟ้องคดีที่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริต   ให้มีการจัดท�ามาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกัน
            หรือฟ้องเพื่อกลั่นแกล้งหรือเอาเปรียบจ�าเลย          ความรุนแรงและการก่ออาชญากรรมต่อบุคคลเหล่านี้

            โดยมุ่งหวังผลอย่างอื่นมากกว่าประโยชน์ที่พึงได้โดยชอบ    (๒)  กระทรวงยุติธรรม  โดยกรมคุ้มครองสิทธิและ
            รวมทั้งเพิ่มดุลพินิจเจ้าพนักงานและศาลในการปล่อย     เสรีภาพ ควรก�าหนดให้มีมาตรการคุ้มครองนักปกป้อง
            ชั่วคราวผู้ถูกกล่าวหาในระหว่างการด�าเนินคดี ซึ่งได้รับ   สิทธิมนุษยชนไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๔
            ความเห็นชอบจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติแล้วเมื่อวันที่    (พ.ศ. ๒๕๖๒-๒๕๖๖) และ (๓) กระทรวงยุติธรรม

            ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ ส่วนอีกฉบับหนึ่ง ได้แก่ ร่างพระราชบัญญัติ   ควรด�าเนินการแก้ไขระเบียบคณะกรรมการกองทุน
            ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระท�า              ยุติธรรมว่าด้วยหลักเกณฑ์  วิธีการ  และเงื่อนไข
            ให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... ซึ่งยังอยู่ระหว่างการพิจารณา   ในการขอปล่อยชั่วคราวผู้ต้องหาหรือจ�าเลย พ.ศ. ๒๕๕๙
            ของสภานิติบัญญัติแห่งชาติ  เนื่องจากกฎหมาย          โดยการยกเลิกข้อความที่ให้อ�านาจคณะอนุกรรมการ

            ฉบับแรกยังไม่มีผลบังคับใช้ในปี  ๒๕๖๑  จึงต้อง       ให้ความช่วยเหลือค�านึงถึงสาเหตุหรือพฤติการณ์        ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            มีการติดตามผลในปี ๒๕๖๒ ต่อไป ส่วนร่างกฎหมาย         ของผู้ยื่นค�าร้องว่าเป็นผู้ที่น่าเชื่อว่ามิได้กระท�าความผิด
            ฉบับที่สองต้องมีการติดตามผลการพิจารณาว่า            ตามข้อกล่าวหาหรือไม่ เนื่องจากการก�าหนดหลักเกณฑ์
            สอดคล้องกับอนุสัญญา  CAT  และ  CPED  หรือไม่        เช่นนี้ถือเป็นการให้อ�านาจวินิจฉัยความผิดของผู้ยื่นค�าขอ

            นอกจากนี้ รัฐยังมีการให้ความช่วยเหลือทางการเงิน     รับความช่วยเหลือล่วงหน้าแทนศาล  อันเป็นสิ่งที่
            แก่ประชาชนเพื่อเป็นหลักประกันในการปล่อยชั่วคราว     ไม่เหมาะสมและอาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้าถึง
            จากกองทุนยุติธรรม แต่ในการปฏิบัติมีปัญหาอุปสรรค     ความช่วยเหลือของประชาชนในการด�าเนินคดี
            บางประการ ดังนั้น กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๓ ข้อ คือ





































                                                                                                               29
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35