Page 33 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 33
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
จากการประเมินสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การค้ามนุษย์
ยังพบปัญหาที่เป็นข้อห่วงใย อาทิ กรณีร้องเรียนที่กล่าวอ้าง ในภาพรวม มีพัฒนาการที่ดีในสองด้าน ด้านแรก
ว่ามีการละเมิดสิทธิและเสรีภาพในชีวิตและร่างกาย เป็นการด�าเนินมาตรการในระดับปฏิบัติเพื่อป้องกัน
โดยมีเจ้าหน้าที่รัฐเกี่ยวข้อง การเสียชีวิตและได้รับบาดเจ็บ และปราบปรามการค้ามนุษย์ โดยการสนธิก�าลัง
ของเด็กและสตรีจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ข้อจ�ากัด เจ้าหน้าที่ในการเข้าตรวจค้นสถานบริการต่าง ๆ
ในการได้รับ/เข้าถึงวัคซีนและภาวะทุพโภชนาการ การจัดกิจกรรมต่อต้านการค้ามนุษย์ การลงนามบันทึก
เฉียบพลันสูงที่สุดของเด็กในพื้นที่ และการเข้าถึง ความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือด้านการต่อต้าน
ความยุติธรรมและสิทธิอนามัยเจริญพันธุ์ของสตรีในพื้นที่ การค้ามนุษย์กับต่างประเทศ และการคุ้มครองช่วยเหลือ
จังหวัดชายแดนภาคใต้ กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๕ ข้อ ผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ รวมถึงการพิจารณาคดี
คือ (๑) การทบทวนความจ�าเป็นในการใช้กฎหมาย ความผิดตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
ความมั่นคงในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเพื่อหลีกเลี่ยงและลด การค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยไม่ชักช้า (คดีส่วนใหญ่
ผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนในทุกมิติ (๒) ก�ากับดูแล ด�าเนินการแล้วเสร็จภายในหนึ่งปี) ด้านที่สอง
การปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในส่วนที่เกี่ยวกับการจับกุม เป็นการออกกฎหมาย นโยบาย และแผนปฏิบัติส�าหรับ
และควบคุมตัวให้เป็นไปตามกฎหมายเพื่อป้องกัน การแก้ไข ป้องกัน ติดตามและช่วยเหลือผู้เสียหาย
การทรมาน รวมถึงมีการตรวจร่างกายผู้ถูกจับกุมก่อนส่ง จากการค้ามนุษย์อย่างเป็นระบบ อาทิ การประกาศให้
เข้าสถานที่ควบคุมและบันทึกผลเป็นลายลักษณ์อักษร การป้องกันและแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ของประเทศไทย
และการเปิดโอกาสให้ญาติเข้าเยี่ยมได้ (๓) การเพิ่ม เป็นวาระแห่งชาติตั้งแต่ปี ๒๕๔๗ ออกกฎหมายและ
มาตรการคุ้มครองความปลอดภัยให้แก่ประชาชน ประกาศหลายฉบับ เช่น พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดี
ในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มเด็ก เยาวชน และสตรี รวมทั้ง ค้ามนุษย์ พ.ศ. ๒๕๕๙ พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม
ดูแลให้การเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ การค้ามนุษย์ (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๖๐ พระราชก�าหนด
รุนแรงอย่างเหมาะสมและเป็นธรรม (๔) การลดภาวะ การบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐
ทุพโภชนาการของเด็กในพื้นที่โดยสนับสนุนอาหาร ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และ
ที่มีคุณค่า และ (๕) การพัฒนากระบวนการยุติธรรม เงื่อนไขการขออนุญาตท�างานและการอนุญาตให้ท�างาน
ที่ค�านึงถึงความละเอียดอ่อนด้านเพศสภาพของสตรี ตามพระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของ
ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ คนต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ ลงวันที่ ๖ กรกฎาคม ๒๕๖๐
32