Page 34 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 34

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างานของคน           มาลงโทษ  ในขณะเดียวกันควรให้ความส�าคัญกับ
            ต่างด้าว (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ และแผนสิทธิมนุษยชน   มาตรการเชิงป้องกันมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มสตรี
            แห่งชาติ  ฉบับที่  ๓  (พ.ศ.  ๒๕๕๗  -  ๒๕๖๑)  ซึ่งมี   และเด็ก (๒) หน่วยงานของรัฐควรด�าเนินการตามแผน
            การก�าหนดมาตรการป้องกัน คุ้มครองและช่วยเหลือ        สิทธิมนุษยชนแห่งชาติอย่างจริงจัง  และรายงาน

            ไว้ในแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติด้านกระบวนการ           ผลการด�าเนินการให้กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพทราบ    บทสรุปผู้บริหาร
            ยุติธรรม กลุ่มเหยื่อ/ผู้เสียหาย รวมทั้งกลุ่มสตรี ซึ่งได้มี   เป็นระยะ เพื่อน�าไปปรับปรุงการด�าเนินงานในระยะ
            การติดตามการด�าเนินการตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ    ต่อไป (๓) กฎหมาย ประกาศ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ
                                                                การค้ามนุษย์มีหลายฉบับ เจ้าหน้าที่จึงควรได้รับการอบรม

            จากการประเมินสถานการณ์พบว่า แม้รัฐบาลจะได้ด�าเนิน   อย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีความรู้และเข้าใจเจตนารมณ์
            มาตรการเพื่อแก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์อย่างต่อเนื่อง    ที่แท้จริงอันจะส่งผลให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
            แต่ยังมีกรณีการค้ามนุษย์เพื่อแสวงหาประโยชน์         เป็นไปตามกฎหมาย ประกาศ และข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
            ในรูปแบบต่าง  ๆ  เช่น  ในอุตสาหกรรมการประมง         รวมทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

            การขายบริการทางเพศ ขอทาน รวมทั้งปรากฏว่ายังมี       ด้านการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของเจ้าหน้าที่
            เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าไปกระท�าความผิดในคดีค้ามนุษย์    มากยิ่งขึ้น  และ  (๔)  ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
            รัฐจึงต้องมีความพยายามและความมุ่งมั่นในการด�าเนินการ   มักเป็นชาวต่างชาติ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรเตรียม
            แก้ไขปัญหาการค้ามนุษย์ต่อไป  รวมทั้งต้องมี          ล่ามเพื่ออ�านวยความสะดวกให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้รับ

            ความร่วมมือกับหลายฝ่ายทั้งในระดับประเทศและ          ความเป็นธรรม รวมทั้งควรมีการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            ระหว่างประเทศ ที่ส�าคัญต้องมีการบังคับใช้กฎหมาย     ผู้บังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการปฏิบัติต่อผู้เสียหาย
            ที่มีอยู่อย่างจริงจังโดยต่อเนื่อง กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๔ ข้อ    จากการค้ามนุษย์ที่เป็นผู้หญิงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
            คือ (๑) หน่วยงานของรัฐควรด�าเนินการปราบปราม         ในกรณีที่เป็นการค้ามนุษย์เพื่อแสวงประโยชน์ทางเพศ

            การค้ามนุษย์อย่างต่อเนื่องและน�าตัวผู้กระท�าผิด รวมถึง  และต่อผู้เสียหายที่เป็นเด็กอย่างเหมาะสม
            เจ้าหน้าที่รัฐที่เข้าไปมีส่วนเกี่ยวข้องกับการกระท�าผิด









































                                                                                                               33
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39