Page 29 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 29

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          จัดการการท�างานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐          ที่สมัครใจเดินทางกลับอย่างต่อเนื่อง  โดยค�านึงถึง
          และที่แก้ไขเพิ่มเติม  รวมถึงควรให้ความส�าคัญกับ     สถานการณ์ความปลอดภัยในประเทศเมียนมาเป็นส�าคัญ
          การควบคุมดูแลการประกอบกิจการจัดหางานด้วย            และควรเร่งรัดการพิจารณากลไกคัดกรองผู้เข้าเมือง
          เพื่อมิให้มีการเอารัดเอาเปรียบแรงงาน และควรมีการแก้ไข  ผิดกฎหมายเพื่อจ�าแนกผู้แสวงหาที่พักพิงออกจาก

          ปัญหาการการจดทะเบียนการเกิดบุตรของแรงงานข้ามชาติ    ผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายอื่น และพิจารณาก�าหนดนโยบาย
          ที่เกิดในประเทศไทย  เพื่อให้เด็กที่เป็นบุตรแรงงาน   หรือแนวทางในการปฏิบัติต่อคนกลุ่มนี้อย่างเหมาะสม
          ข้ามชาติกลุ่มนี้ได้รับการจดทะเบียนเกิดอย่างทั่วถึง    ที่สอดคล้องกับกฎหมายระหว่างประเทศ  รวมถึง
          (๒) กลุ่มบุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ รัฐควรมีมาตรการสร้าง  การพิจารณามาตรการทางเลือกอื่นแทนการควบคุมตัว

          ความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนและเอกสารหลักฐานที่       โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้แสวงหาที่พักพิงที่เป็นเด็ก ซึ่งจะเป็น
          ต้องใช้ประกอบการขอมีสถานะ/สัญชาติแก่มีผู้มีสิทธิ    ผลดีต่อผู้แสวงหาที่พักพิง และลดภาระของรัฐในการดูแล
          ยื่นค�าขอตามนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในภาษา      ผู้แสวงหาที่พักพิงทั้งในด้านงบประมาณและบุคลากร
          ที่ผู้มีสิทธิยื่นค�าขอ  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่มชาติพันธุ์

          เผ่าต่าง  ๆ  สามารถเข้าใจได้  รวมถึงควรพิจารณา      นักปกป้องสิทธิมนุษยชน
          แนวทางการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุกลุ่มชาติพันธุ์        ปัญหาส�าคัญของนักปกป้องสิทธิมนุษยชน คือ การถูกคุกคาม
          ที่อยู่อาศัยในประเทศไทยมาเป็นเวลานานแต่ไม่อาจ       ในหลายรูปแบบ  เช่น  การถูกบังคับให้สูญหาย
          ขอสถานะ/สัญชาติได้เนื่องจากตกส�ารวจการจัดท�า        และการใช้กระบวนการทางกฎหมายที่เป็นการข่มขู่

          ทะเบียนประวัติของกลุ่มชาติพันธุ์ และ (๓) กลุ่มผู้แสวงหา   หรือคุกคาม (judicial harassment) และการด�าเนินคดี
          ที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย  รัฐบาลไทยควรร่วมมือกับรัฐบาล   ต่อนักปกป้องสิทธิมนุษยชนเพื่อยับยั้งหรือข่มขู่
          ประเทศเมียนมา UNHCR และองค์การระหว่างประเทศ         การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และในระยะหลัง
          ที่เกี่ยวข้อง  ในการให้ข้อมูลและเตรียมความพร้อม     ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชนได้เข้ามามีบทบาท

          แก่ผู้หนีภัยการสู้รบชาวเมียนมาในพื้นที่พักพิงชั่วคราว  มากขึ้นโดยเฉพาะในเรื่องของที่ดิน ป่าไม้ ซึ่งท�าให้ผู้หญิง











































       28
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34