Page 28 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 28

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ในส่วนของกลุ่มบุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ  แม้ว่ารัฐ     กลับยังมีไม่มาก แม้ว่าจะมีมาตรการให้ความช่วยเหลือ
            มีนโยบายและปรับปรุงกฎหมายเพื่อเอื้อประโยชน์         แก่ผู้เดินทางกลับในการตั้งถิ่นฐาน ส่วนการด�าเนินการ
            ในการขอสถานะหรือสัญชาติไทยของคนกลุ่มนี้มากขึ้น      เกี่ยวกับผู้แสวงหาที่พักพิง กสม. ได้ตรวจเยี่ยมห้องกัก
            แต่ยังมีปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติพอสมควร ท�าให้      ของส�านักงานตรวจคนเข้าเมืองในหลายพื้นที่ และพบว่า

            การด�าเนินการในเรื่องสถานะบุคคลยังไม่คืบหน้า        ผู้หลบหนีเข้าเมืองบางรายอาจเป็นผู้หนีภัยอันตรายเข้ามา   บทสรุปผู้บริหาร
            เท่าที่ควร  และยังมีผู้ไร้รัฐ/ไร้สัญชาติบางกลุ่มที่   ในประเทศไทย  และไม่สามารถเดินทางกลับไปยัง
            ประสบปัญหานี้ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสิทธิและความเป็นอยู่   ประเทศต้นทางได้ ท�าให้ต้องถูกกักอย่างไม่มีก�าหนด
            ของคนกลุ่มดังกล่าว  ส่วนประเด็นสิทธิทางการ          โดยต้องเผชิญสภาพความแออัดในห้องกักกอปรกับ

            ศึกษาพบว่า มีการด�าเนินการที่ท�าให้ปัญหาคลี่คลาย    ข้อจ�ากัดในการเข้าถึงการรักษาพยาบาลอาจท�าให้ผู้ต้องกัก
            โดยกลุ่มเด็กไร้รัฐ/ไร้สัญชาติส่วนใหญ่ โดยเฉพาะเด็กที่อยู่   ที่สุขภาพไม่แข็งแรงเกิดการเจ็บป่วยถึงขั้นรุนแรงได้
            ในพื้นที่ห่างไกล หรือในพื้นที่ชายแดนของประเทศไทย    อย่างไรก็ดี รัฐมีความพยายามที่จะไม่ควบคุมตัวเด็ก
            ได้รับการศึกษาในโรงเรียนในพื้นที่ที่ตนและครอบครัว   ไว้ในห้องกักเพื่อให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติระหว่าง

            อาศัยอยู่ แม้ว่าจะยังไม่ได้รับสถานะทางกฎหมายก็ตาม   ประเทศที่เห็นว่า  การกักตัวเป็นระยะเวลายาวนาน
            อย่างไรก็ดี ยังคงพบผู้ไร้รัฐ/ไร้สัญชาติบางกลุ่มที่ยัง   จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กในอนาคต
            ไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการขอสถานะ/สัญชาติ            ซึ่งถือเป็นความก้าวหน้าที่ส�าคัญเนื่องจากมาตรการ
            ตามนโยบายของรัฐ เช่น ผู้สูงอายุไร้สัญชาติที่ตกส�ารวจ  ดังกล่าวจะช่วยให้เด็กได้รับความคุ้มครองบนพื้นฐาน

            และยังไม่มีข้อมูลทางทะเบียน  ท�าให้ประสบปัญหา       ของการค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็กตามหลักการ      ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            ในการเข้ารับบริการสาธารณสุข                         ของอนุสัญญา CRC ซึ่งประเทศไทยเป็นภาคี


            ในส่วนของผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย  พัฒนาการ     กสม. มีข้อเสนอแนะในการคุ้มครองสิทธิของผู้มีปัญหา

            ทางการเมืองที่ดีขึ้นในประเทศเมียนมาท�าให้สามารถ     สถานะในประเทศไทยที่ส�าคัญแยกตามกลุ่มข้างต้น
            ส่งผู้หนีภัยจากการสู้รบชาวเมียนมาในพื้นที่พักพิง    ดังนี้ (๑) กลุ่มแรงงานข้ามชาติ รัฐควรมีการให้ความรู้
            ชั่วคราวตามแนวชายแดนกลับประเทศเมียนมา               และสร้างความเข้าใจแก่นายจ้างและแรงงานต่างด้าว
            โดยสมัครใจได้จ�านวนหนึ่ง แต่จ�านวนผู้สมัครใจเดินทาง  เกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชก�าหนดการบริหาร





































                                                                                                               27
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33