Page 26 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 26

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            กับผลการส�ารวจประชากรสูงอายุของส�านักงานสถิติ
            แห่งชาติเมื่อปี ๒๕๖๐ ที่สะท้อนให้เห็นว่าผู้สูงอายุไทย
            ส่วนใหญ่อาจไม่มีเงินออมเพียงพอในการด�ารงชีวิต
            หลังเกษียณ โดยผลการส�ารวจ พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ ๖๕

            พึ่งพารายได้จากบุตรและการท�างาน มีผู้สูงอายุเพียง                                                       บทสรุปผู้บริหาร
            ร้อยละ ๘ ที่มีรายได้จากบ�าเหน็จบ�านาญและเงินออม
            และมีผู้สูงอายุที่พึ่งพาเบี้ยยังชีพจากรัฐมากถึงร้อยละ ๒๐
            เมื่อครอบครัวไทยมีขนาดเล็กลง และเมื่อผู้สูงอายุมากขึ้น

            อาจมีข้อจ�ากัดในการท�างานเนื่องจากสภาวะด้าน
            สุขภาพ ดังนั้น จึงจ�าเป็นต้องมีการสร้างระบบการออม
            ที่ครอบคลุมทั่วถึงและเพียงพอต่อการด�ารงชีวิต
            ในวัยสูงอายุ นอกจากนี้ ควรมีการดูแลคุณภาพชีวิต      คนพิการ ผู้ดูแลคนพิการ และเครือข่ายคนพิการได้รับ

            ของผู้สูงอายุในด้านอื่น ๆ ด้วย ในประเด็นเรื่องผู้สูงอายุ    ความสะดวก ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน และลดภาระ
            กสม.  มีข้อเสนอแนะ  ๓  ข้อ  คือ  (๑)  การรณรงค์     ค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ  ในด้าน
            ให้ประชาชนเห็นความส�าคัญของการออม โดยเฉพาะ          การศึกษา ได้มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้านของ
            กลุ่มแรงงานนอกระบบกว่า  ๒๐  ล้านคน  รวมถึง          คนพิการ เนื่องจากส่วนใหญ่เป็นคนพิการที่อยู่ในชนบท

            การพิจารณาระบบการออมภาคบังคับเพื่อให้ประชาชน        และไม่สะดวกในการเดินทางไปรับบริการที่สถานศึกษา      ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            ทุกคนมีบ�าเหน็จบ�านาญหลังพ้นวัยเกษียณ               ตลอดจนให้ความส�าคัญในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
            (๒) การปรับปรุงกฎหมายคุ้มครองแรงงานเพื่อให้สอดคล้อง   ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการ
            กับลักษณะการท�างานของผู้สูงอายุเพื่อคุ้มครองสิทธิ   ด้านการจ้างงาน รัฐโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ศึกษา และ

            ด้านการท�างานของผู้สูงอายุ รวมทั้งกฎหมายเกี่ยวกับ   เตรียมความพร้อมในการจัดตั้งกลไกการแนะแนวและ
            ประกันสังคมและกองทุนการออมต่าง  ๆ  ให้รองรับ        พัฒนาศักยภาพการท�างานของคนพิการในประเทศไทย
            การท�างานของผู้สูงอายุด้วย และ (๓) การด�าเนินการ    เพื่อบูรณาการร่วมกันในการส่งเสริมการท�างาน
            เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับสิทธิในด้านอื่น ๆ ตามที่ระบุใน   ของคนพิการทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการ

            พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไขเพิ่มเติม    ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ รัฐยังให้ความส�าคัญ
            อย่างทั่วถึง อาทิ บริการด้านสาธารณสุข การฝึก/ประกอบอาชีพ   กับปัญหาความเหลื่อมล�้าของระบบประกันสุขภาพ
            ที่เหมาะสม  การได้รับความคุ้มครองจากการถูก          ภาครัฐส�าหรับคนพิการ โดยให้คนพิการที่เข้าสู่ระบบ
            ทอดทิ้ง  โดยให้ความส�าคัญกับผู้สูงอายุที่มีอุปสรรค   การจ้างงานสามารถเลือกได้ว่าจะใช้สิทธิระบบประกันสังคม

            ในการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ หรือมีความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดสิทธิ    หรือระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า  เพื่อตอบสนอง
            เช่น ผู้สูงอายุที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล ผู้สูงอายุที่อยู่ล�าพัง   ความต้องการจ�าเป็นของคนพิการให้มากที่สุด ด้านสิ่งอ�านวย
            และผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง เป็นต้น           ความสะดวกส�าหรับคนพิการ รัฐได้จัดท�าแผนปฏิบัติการ
                                                                เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาสิ่งอ�านวย

            สิทธิคนพิการ                                        ความสะดวกในภาคขนส่งส�าหรับคนพิการ และผู้สูงอายุ
            สถานการณ์ในภาพรวม  พบว่า  รัฐโดยหน่วยงานที่         และเป็นกรอบการด�าเนินงานส�าหรับทุกภาคส่วน
            เกี่ยวข้องได้พยายามขับเคลื่อนยกระดับคุณภาพ          ที่เกี่ยวข้อง ส�าหรับปัญหาคนพิการที่ไม่มีสัญชาติไทย
            ชีวิตคนพิการให้สามารถเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการ       รัฐอยู่ระหว่างด�าเนินการออกระเบียบเพื่อช่วยเหลือ

            อย่างเท่าเทียมในสังคม โดยในปี ๒๕๖๑ ได้มีการขยาย     ให้คนพิการกลุ่มนี้ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการ
            ศูนย์บริการคนพิการกรุงเทพมหานครเพิ่มเติมเพื่อให้    ที่เหมาะสมจากรัฐ





                                                                                                               25
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31