Page 35 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 35

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑

          สรุปข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑



                                      (๑)  การประชาสัมพันธ์แจ้งสิทธิและแนวทางการขอปล่อยตัวชั่วคราว และเร่งรัดการใช้หนังสือรับรองแทนการช�าระเงิน
                                      (๒)  การจัดท�าและด�าเนินงานตามแผนปฏิรูปด้านกระบวนการยุติธรรม
                                      (๓)  การสร้างความรู้ความเข้าใจ และก�าหนดนโยบาย/กฎหมายเพื่อน�าไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิต
                                      (๔)  การศึกษาวิจัยและถอดบทเรียนของประชาชนที่สะท้อนความเชื่อมั่นและประสิทธิภาพของกระบวนการยุติธรรม



                  (๑)  การจัดท�าร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ที่สอดคล้องกับอนุสัญญา CAT
                  (๒)  การจัดท�าคู่มือการปฏิบัติงาน การติดตาม ดูแลและตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐในการจับกุม
                      และควบคุมตัวบุคคล
                  (๓)  การจัดท�าหลักสูตรการเรียนรู้ และสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่รัฐในการป้องกันและปราบปรามการทรมาน  ÊÔ·¸Ôã¹
                      และการกระท�าให้บุคคลสูญหาย                                                    ¡Ãкǹ¡Òà                    ¡ÒäŒÒÁ¹ØÉ
                                                                                                     ÂØµÔ¸ÃÃÁ

                                                                                   ¡ÒáÃÐ·Ó                                                       ʶҹ¡Òó
         (๑)  การสร้างความเข้าใจและการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหากรณีการใช้เสรีภาพของ  ·ÃÁÒ¹áÅÐ
            ประชาชนในการแสดงออกและการชุมนุมโดยสงบในบริบทของสิทธิชุมชนตามมาตรา ๔๓     ¡Òúѧ¤Ñº                                                   ã¹¾×é¹·Õè¨Ñ§ËÇÑ´
            ของรัฐธรรมนูญฯ                                                          ÊÙÞËÒ                                                       ªÒÂá´¹ÀҤ㵌
         (๒)  การใช้อ�านาจตามกระบวนการตรากฎหมายปกติแทนการใช้อ�านาจตามมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญ
            แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ และยกเลิกประกาศ/ค�าสั่ง คสช. ที่มี
            ผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพและไม่สอดคล้องกับสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนของไทย                                                                      ÊÔ·¸ÔªØÁª¹
         (๓)  การบังคับใช้ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ....     àÊÃÕÀҾ㹡Òà                                           㹡ÒèѴ¡ÒÃ
                                                                     áÊ´§¤ÇÒÁ¤Ô´àËç¹
            ที่ สนช. ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ เพื่อป้องกันการด�าเนินคดีเพื่อระงับ   àÊÃÕÀҾ㹡ÒêØÁ¹ØÁ                                         ·ÃѾÂÒ¡Ã
            การมีส่วนร่วมของสาธารณชน                                   â´ÂʧºáÅÐ                                                                             ¸ÃÃÁªÒµÔ áÅÐ
                                                                      »ÃÒȨҡÍÒÇØ¸                                                                            ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

         (๑)  การเร่งปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาเพื่อให้เด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน
            ได้อย่างทั่วถึง
         (๒)  การพัฒนาบุคลากรครูและสื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสนับสนุนการด�าเนินงาน
                                                                                                                                                                ¹Ñ¡»¡»‡Í§
         (๓)  การจัดการศึกษาที่ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ความถนัดและความสามารถทางร่างกายและจิตใจ  ÊÔ·¸Ô·Ò§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ                                             ÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹
            ตามศักยภาพของเด็กแต่ละคนตามแนวทางในอนุสัญญา CRC และ
         (๔)   การติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพื่อปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
            เป็นระยะๆ


         (๑)  การเร่งด�าเนินการตามแผนการปฏิรูปด้านสาธารณสุข โดยพัฒนาคุณภาพ
                                                                                                                                                            ÊÔ·¸Ô¢Í§
            และการเข้าถึงการบริการอย่างถ้วนทั่ว                         ÊÔ·¸Ô´ŒÒ¹ÊØ¢ÀÒ¾                                                                  ¼ÙŒÁÕ»˜ÞËÒʶҹÐ
         (๒)  การก�าหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจน และทบทวนกฎหมายต่าง ๆ โดยค�านึงถึง                                                                          áÅÐÊÔ·¸Ô
            ผลกระทบในมิติสิทธิด้านสุขภาพ พร้อมบริหารปัจจัยที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างจริงจัง


         (๑)  การประมวล รวบรวม และประเมินข้อมูล NBA และจัดท�าแผน NAP พร้อมก�าหนดกลไกติดตามและประเมิน
            ประสิทธิภาพและประสิทธิผล                                                 ¸ØÃ¡Ô¨¡Ñº                                                 ÊÔ·¸Ô¢Í§¤¹¾Ô¡ÒÃ
         (๒)  การจัดตั้งกลไกในการน�ามาตรการเชิงบังคับและเชิงสมัครใจเพื่อป้องกันผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน     ÊÔ·¸ÔÁ¹ØÉª¹
            รวมทั้งให้มีการเยียวยาที่เหมาะสมมาใช้ในก�ากับดูแลการด�าเนินการประกอบธุรกิจ
         (๓)  การสนับสนุนการน�าเครื่องมือ  HRDD  มาปรับใช้  และขยายผลการปฏิบัติตามหลักการ  UNGPs
            ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ธุรกิจขนาดกลางและย่อม และ                                           ÊÔ·¸Ôà´ç¡                 ÊÔ·¸Ô¼ÙŒÊÙ§ÍÒÂØ
         (๔) การเร่งพิจารณาเข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ รวมถึงการรับรองร่างพระราชบัญญัติ
            แรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. .... และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. ....


                          (๑)  การสร้างความตระหนัก และให้ความรู้ในการดูแลความปลอดภัยของเด็ก ทั้งกับตัวเด็กเองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
                          (๒)  การมีมาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก รวมถึงการฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงโดยค�านึงถึงผลประโยชน์
                             สูงสุดของเด็ก
                          (๓)  การคุ้มครองเด็กจากการถูกแสวงหาประโยชน์ทางเพศและการก�าหนดมาตรการฟื้นฟูที่เหมาะสม
                          (๔)  การก�าหนดมาตรการคุ้มครองเด็กจากภัยออนไลน์รูปแบบต่าง ๆ และการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและครูในการช่วยเหลือและให้ค�าแนะน�า
                          (๕)  การป้องกันการกระท�าผิดของเด็กโดยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว การจัดให้มีกระบวนการ และบุคลากรเพื่อฟื้นฟูเด็ก
                             ที่กระท�าผิดอย่างเหมาะสม และการแก้ไขระเบียบที่เกี่ยวข้องเพื่อไม่ให้มีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิดของเด็กเพื่อมิให้เป็นอุปสรรค
                             ต่อการกลับคืนสู่สังคม

       34
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40