Page 25 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 25

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ในลักษณะการคุกคามผ่านพื้นที่ออนไลน์  (cyber         สิทธิผู้สูงอายุ
          bullying)  การแสวงหาประโยชน์ทางเพศจากเด็ก           ในปี  ๒๕๖๑  รัฐได้ประกาศแผนปฏิรูปประเทศ
          ซึ่งพบทั้งการค้าบริการทางเพศ สื่อลามกอนาจาร ตลอดจน   เมื่อเดือนเมษายน โดยแผนปฏิรูปประเทศด้านสังคม
          การจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควร  กสม.  จึงมี      และเศรษฐกิจ  มีประเด็นการปฏิรูปที่ส�าคัญต่อสิทธิ

          ข้อเสนอแนะ ๕ ข้อ คือ (๑) การสร้างความตระหนักแก่     ของผู้สูงอายุ อาทิ การปฏิรูปการออมและระบบสวัสดิการ
          พ่อแม่และผู้ปกครองในการดูแลความปลอดภัยของ           เช่น การสร้างระบบเพื่อให้มีบ�าเหน็จบ�านาญหลังพ้น
          เด็ก รวมทั้งให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลความปลอดภัย   วัยเกษียณ และการพัฒนาการออมภาคบังคับ เป็นต้น
          ของตนเองที่เหมาะสมกับวัย (๒) การมีมาตรการป้องกัน    ในประเด็นการปฏิรูปกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม

          การใช้ความรุนแรงต่อเด็ก รวมถึงการฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ได้   ซึ่งรวมถึงกลุ่มผู้สูงอายุ  ได้ระบุถึงความส�าคัญกับ
          รับผลกระทบจากความรุนแรงโดยค�านึงถึงผลประโยชน์       การปรับกระบวนการคิดและรูปแบบการด�าเนินงาน
          สูงสุดของเด็ก (๓) การคุ้มครองเด็กจากการถูกแสวงหา    จากการ “สงเคราะห์” มาเป็นการสร้างเสริม ปรับเปลี่ยน
          ประโยชน์ทางเพศและการก�าหนดมาตรการฟื้นฟู             ทัศนคติจากผู้รับเป็นผู้ผลิต เพื่อให้เกิดความเข้มแข็ง

          ที่เหมาะสม (๔) การมีมาตรการคุ้มครองเด็กจากภัย       สามารถดูแลตนเองและสังคม  โดยมุ่งเสริมสร้าง
          ออนไลน์รูปแบบต่าง ๆ และการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง    ศักยภาพผู้สูงอายุในการท�างาน โดยมีกิจกรรมหลัก เช่น
          และครูเพื่อให้สามารถให้ค�าแนะน�าและช่วยเหลือเด็ก    การขยายอายุเกษียณราชการจาก ๖๐ ปี เป็น ๖๓ ปี
          ในการใช้สื่อออนไลน์และวิธีรับมือกับภัยที่มากับสื่อ   การแก้ไขกฎหมายแรงงานที่ให้ผู้สูงอายุสามารถรับงาน

          ดังกล่าว และ (๕) การป้องกันการกระท�าผิดของเด็ก      เป็นชิ้นงาน เพื่อให้เกิดการท�างานร่วมกันตามศักยภาพ
          โดยเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว       และสภาพแวดล้อมโดยไม่ผูกพันท�างานเต็มเวลา
          การจัดให้มีกระบวนการ และบุคลากรเพื่อฟื้นฟูเด็กที่กระท�าผิด   ๘ ชั่วโมงต่อวันเช่นการท�างานปกติทั่วไป และการส่งเสริม
          อย่างเหมาะสม  และการแก้ไขระเบียบที่เกี่ยวข้อง       ให้แรงงานนอกระบบ  และเกษตรกรออมเงิน

          เพื่อไม่ให้มีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิดของเด็ก   เพื่อการเกษียณอายุผ่านกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช.)
          เพื่อมิให้เป็นอุปสรรคต่อการกลับคืนสู่สังคม          เป็นต้น ทั้งนี้ แผนการปฏิรูปประเทศดังกล่าวสอดคล้อง









































       24
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30