Page 24 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 24
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน เข้าเป็นภาคีอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ ดังนั้น
ในภาพรวมพบว่า การด�าเนินการของรัฐมีการพัฒนา จึงมีข้อเสนอแนะ ๔ ข้อ คือ (๑) การประมวล รวบรวม
ใน ๔ ด้าน คือ (๑) การจัดท�าแผนปฏิบัติการระดับชาติ และประเมินข้อมูล NBA และจัดท�าแผน NAP โดยผ่าน
ว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NAP) (๒) การให้ความส�าคัญ กระบวนการมีส่วนร่วมอย่างรอบด้าน พร้อมการก�าหนด
กับการแก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนข้ามพรมแดน กลไกการติดตามและประเมินประสิทธิภาพและ บทสรุปผู้บริหาร
(๓) การส่งเสริมให้รัฐวิสาหกิจและธุรกิจเอกชน ประสิทธิผลแผน NAP (๒) การจัดตั้งหรือก�าหนดกลไก
โดยเฉพาะบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ที่มีหน้าที่และอ�านาจในการน�ามาตรการเชิงบังคับและ
ด�าเนินการตามหลักการ UNGPs และน�าเครื่องมือ HRDD มาตรการเชิงสมัครใจมาใช้ในก�ากับ ดูแลการด�าเนินการ
มาปรับใช้ และ (๔) การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ ประกอบธุรกิจเพื่อป้องกันผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชน
ของแรงงานไทยและแรงงานข้ามชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รวมทั้งให้มีการเยียวยาที่เหมาะสมเมื่อเกิดผลกระทบ
ในอุตสาหกรรมประมง ทั้งนี้ ยังพบปัญหาอุปสรรค ดังกล่าว (๓) การสนับสนุนการน�าเครื่องมือ HRDD
อาทิ การขาดการท�าการประเมินข้อมูลพื้นฐาน มาปรับใช้ และขยายผลสร้างมาตรฐานและการปฏิบัติ
ระดับชาติด้านธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน (NBA) การขาด ตามหลักการ UNGPs ในหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ ธุรกิจ
กลไกควบคุม ก�ากับ และดูแลทั้งเชิงบังคับและ/หรือ ขนาดกลางและย่อม และ (๔) การเร่งพิจารณาเข้าเป็น
ตามสมัครใจต่อการด�าเนินการของธุรกิจข้ามพรมแดน ภาคีอนุสัญญา ILO ฉบับที่ ๘๗ และ ๙๘ รวมถึง
การเยียวยาผลกระทบด้านสิทธิมนุษยชนอันเนื่องมาจาก การรับรองร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ พ.ศ. ....
การกระท�าทางธุรกิจด้านอื่น ๆ ที่นอกจากการเยียวยา และร่างพระราชบัญญัติแรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. .... ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
ด้านการเงิน และความล่าช้าในการพิจารณา
ส่วนที่ ๓ การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม คือ
สิทธิเด็ก
จากการติดตามสถานการณ์ในปี ๒๕๖๑ ในภาพรวมพบว่า และร่างนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านเด็กปฐมวัย
มีพัฒนาการใน ๒ ด้าน คือ (๑) การตราและจัดท�า พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ อย่างไรก็ตาม ยังพบสถานการณ์
ร่างกฎหมาย อาทิ พระราชบัญญัติการบริหารการแก้ไข ที่เป็นข้อห่วงกังวล ได้แก่ การเสียชีวิตของเด็กจาก
บ�าบัดฟื้นฟูเด็กและเยาวชนที่กระท�าผิด พ.ศ. ๒๕๖๑ การจมน�้าและอุบัติเหตุทางถนนที่ยังมีสถิติค่อนข้างสูง
กฎกระทรวงก�าหนดประเภทของสถานศึกษาและ ความรุนแรงในครอบครัวซึ่งเกิดขึ้นกับเด็กและสตรี
การด�าเนินการของสถานศึกษาในการด�าเนินการป้องกัน เพิ่มสูงขึ้น โอกาสเสี่ยงของเด็กจากภัยออนไลน์ร้อยละ
และแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. ๒๕๖๑ ๖๐ ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลก และส่วนใหญ่เป็นภัย
และร่างพระราชบัญญัติการปฐมวัยแห่งชาติ พ.ศ. ....
เพื่อบูรณาการการท�างานของหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีหน้าที่
เกี่ยวกับการดูแลเด็กและเพื่อก�าหนดแนวทาง
การพัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสม และ (๒) การพัฒนา
ประสิทธิภาพของกลไกที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองเด็ก
อาทิ การจัดท�ายุทธศาสตร์คุ้มครองเด็กแห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔ เพื่อก�าหนดเป้าหมายและทิศทาง
การด�าเนินงานที่สนองตอบต่อสถานการณ์ปัญหาและ
ท�าการให้เกิดการคุ้มครองเด็กในเชิงระบบ แผนแม่บท
สารสนเทศกองทุนคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๔
23