Page 23 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 23

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ขั้นพื้นฐาน  (O-NET)  มีค่าเฉลี่ยต�่ากว่าร้อยละ  ๕๐    สุขภาพจิตเพื่อให้ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตเข้าถึง
          ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าคุณภาพการศึกษายังคงเป็นปัญหา    บริการด้านสุขภาพจิต รวมถึงการฟื้นฟูเพื่อให้สามารถ
          ส�าคัญ แม้ว่ารัฐมีความพยายามที่จะปรับปรุงคุณภาพ     กลับไปใช้ชีวิตในสังคมได้  และการประกาศควบคุม
          การศึกษา นอกจากนี้ ยังมีความแตกต่างของคุณภาพ        การใช้ไขมันทรานส์ในผลิตภัณฑ์อาหารซึ่งมีผลกระทบ

          การศึกษาระหว่างโรงเรียนขนาดใหญ่กับโรงเรียนขนาดกลาง   ต่อสุขภาพของประชาชน
          และขนาดเล็ก  และระหว่างโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในและ
          นอกเขตเมือง กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๔ ข้อ คือ (๑) การเร่ง   รัฐด�าเนินการเพื่อลดความเหลื่อมล�้าในการรับบริการ
          ปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาเพื่อให้เด็กและเยาวชน       ด้านสุขภาพและคุณภาพในการบริการ โดยการรับรอง

          สามารถเข้าถึงการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างทั่วถึง โดยเฉพาะ   คุณภาพของโรงพยาบาล (HA) ในปี ๒๕๖๑ มีโรงพยาบาล
          อย่างยิ่งเด็กด้อยโอกาสกลุ่มต่าง ๆ (๒) การยกระดับ    ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติผ่านเกณฑ์
          คุณภาพการศึกษาผ่านการพัฒนาบุคลากรครูและ             HA เพิ่มขึ้นร้อยละ ๔.๕๖ พร้อมกับน�าแอปพลิเคชัน
          สื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ           มาพัฒนาคุณภาพการให้บริการ ตลอดจนการด�าเนิน

          มาสนับสนุนการด�าเนินการ (๓) การให้การศึกษาที่ส่งเสริม   โครงการ “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่ (UCEP)”
          การพัฒนาบุคลิกภาพ  ความถนัดและความสามารถ            ต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ยังมีประชาชนบางกลุ่มที่มีข้อจ�ากัด
          ทางร่างกายและจิตใจของเด็กให้เต็มตามศักยภาพ          ในการใช้สิทธิด้านสุขภาพ อาทิ ประชากรที่อาศัยอยู่ใน
          ของเด็กแต่ละคนตามแนวทางในอนุสัญญา CRC และ           พื้นที่ห่างไกล พื้นที่ชายแดน หรือพื้นที่ทุรกันดาร รวมถึง

          (๔) การติดตามและประเมินผลการปฏิรูปการศึกษา          ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ บุคคลที่ไม่มีสถานะ
          อย่างเป็นระบบและเป็นระยะ ๆ เพื่อให้ทราบความคืบหน้า   ทางทะเบียนราษฎร/บัตรประจ�าตัวประชาชน ซึ่งรวมถึง
          หรือปัญหาอุปสรรคในการด�าเนินการและก�าหนด            ผู้ไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ พระสงฆ์และผู้ต้องขังจ�านวนหนึ่ง
          แนวทางในการแก้ไข                                    และแรงงานเคลื่อนย้าย  (มีและไม่มีสัญชาติไทย)

                                                              นอกจากนี้ มีสถานการณ์ที่ยังเป็นที่น่าห่วงกังวล และ
          สิทธิด้านสุขภาพ                                     ต้องมีการแก้ไขปัญหาต่อเนื่อง  คือ  การตั้งครรภ์
          ในภาพรวมพบว่า  รัฐมีความพยายามที่จะส่งเสริม         ของวัยรุ่น  จ�านวนผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์รายใหม่
          ให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิในการรับบริการสาธารณสุข       และการควบคุมดูแลปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ (health

          อย่างทั่วถึง ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข     determinants)  ได้แก่  การใช้สารเคมีป้องกันและ
          ผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ  รวมถึงให้          ก�าจัดศัตรูพืชซึ่งยังขาดนโยบายและกลไกทางกฎหมาย
          ชุมชนทั่วประเทศได้มีส่วนร่วมกับรัฐในการด�าเนินงาน   ที่สอดคล้องกับมิติด้านสุขภาพ ดังนั้น จึงมีข้อเสนอแนะ
          ระบบสุขภาพ  รัฐมีการปรับปรุงการเข้าถึงสิทธิ         ๒ ข้อ คือ (๑) การเร่งด�าเนินการตามแผนการปฏิรูป

          ในการรับบริการในกรณีฉุกเฉินตามแผนหลักการแพทย์       ด้านสาธารณสุข โดยการให้ประชาชนสามารถเข้าถึง
          ฉุกเฉินแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) รวมถึง   บริการด้านสุขภาพได้อย่างทั่วถึง การให้ความส�าคัญ
          การกระจายอ�านาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น          กับการดูแลประชากรบางกลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึง
          เป็นผู้บริหารจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดยภาค        บริการด้านสุขภาพดังที่ได้กล่าวข้างต้น และการพัฒนา

          เอกชน ภาคประชาสังคมมีส่วนร่วมด�าเนินการ นอกจากนี้    คุณภาพการให้บริการอย่างต่อเนื่อง และ (๒) การเร่ง
          ยังมีการดูแลประชากรบางกลุ่มที่มีอุปสรรคในการเข้าถึง   ด�าเนินการบริหารจัดการปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ
          สิทธิด้านสุขภาพ ทั้งผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียน พระสงฆ์   โดยก�าหนดนโยบายและมาตรการที่ชัดเจน  รวมถึง
          ผู้ต้องขัง และผู้มีรายได้น้อยที่ขึ้นทะเบียนและถือบัตร  การทบทวนกฎหมายโดยค�านึงถึงผลกระทบในมิติสิทธิ

          สวัสดิการแห่งรัฐ ๑๑.๔ ล้านคน การปรับปรุงกฎหมาย      ด้านสุขภาพ







       22
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28