Page 22 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 22

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            และตามมาตรา ๑๑๒ ของประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งถูกมองว่า   (ฉบับชั่วคราว)  พุทธศักราช  ๒๕๕๗  เพื่อเสริมสร้าง
            อาจเข้าข่ายเป็นการด�าเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์          ความเข้มแข็งของระบบนิติรัฐ รวมถึงการพิจารณายกเลิก
            เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน (SLAPP) ดังนั้น   ประกาศ/ค�าสั่ง คสช. ที่มีผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพ
            กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๓ ข้อ คือ (๑) ในกรณีการใช้     ที่ไม่สอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน

            เสรีภาพของประชาชนในการแสดงออกและการชุมนุม           ของไทย และ (๓) การบังคับใช้ร่างพระราชบัญญัติ        บทสรุปผู้บริหาร
            โดยสงบ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งการแสดงความคิดเห็น         แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ....
            ของชุมชนในบริบทของสิทธิชุมชนตามมาตรา  ๔๓            ที่ สนช. ให้ความเห็นชอบเมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑
            ของรัฐธรรมนูญฯ  รัฐควรเน้นการสร้างความเข้าใจ        ที่ก�าหนดให้ศาลสามารถยกฟ้องการฟ้องคดีโดยไม่สุจริต

            และการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา และ    รวมถึงการฟ้องคดีเพื่อกลั่นแกล้ง หรือเอาเปรียบจ�าเลย
            (๒) การทบทวนการใช้อ�านาจทางกฎหมายให้เป็นไป          หรือโดยมุ่งหวังผลอย่างอื่นกว่าประโยชน์ที่พึงได้โดยชอบ
            ตามกระบวนการตรากฎหมายปกติแทนการใช้อ�านาจ            อย่างจริงจัง  เพื่อป้องกันการด�าเนินคดีเพื่อระงับ
            ตามมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย         การมีส่วนร่วมของสาธารณชน



            ส่วนที่ ๒ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มี ๓ ประเด็น คือ


            สิทธิทางการศึกษา

            ภาพรวมพบว่า ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลได้มีความพยายาม         อย่างไรก็ตาม ยังพบปัญหาอุปสรรค อาทิ การเข้าถึง      ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            ในการปฏิรูปการศึกษาตามที่ก�าหนดในรัฐธรรมนูญ         การศึกษาของกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียน  เด็กในระดับ
            แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ทั้งในมิติ       มัธยมศึกษาตอนปลาย เด็กและเยาวชนในพื้นที่ห่างไกล
            ของการให้เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน     กลุ่มเด็กยากจนและยากจนพิเศษ และเด็กกลุ่มด้อยโอกาส

            ๑๕  ปีอย่างทั่วถึงโดยไม่มีค่าใช้จ่ายและในมิติของ    อื่น ๆ (อาทิ เด็กพิการ เด็กในสถานพินิจและคุ้มครองเด็ก
            คุณภาพการศึกษา โดยได้มีการจัดท�าร่างพระราชบัญญัติ   เด็กเร่ร่อน เด็กติดตามแรงงานข้ามชาติ และเด็กที่อยู่
            การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. .... ร่างพระราชบัญญัติ      ร่วมกับเชื้อเอชไอวี/เอดส์ เป็นต้น) ซึ่งคิดเป็นร้อยละ ๓๖
            การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. .... และร่างแผนปฏิรูปประเทศ   ของประชากรเด็กอายุต�่ากว่า  ๑๘  ปี  เด็กบางกลุ่ม

            ด้านการศึกษา เพื่อเป็นกรอบในการด�าเนินงาน รวมทั้ง   รัฐมีมาตรการจัดสรรเงินอุดหนุนเพื่อช่วยเหลือแล้ว เช่น
            ได้พยายามส่งเสริมการเข้าถึงการศึกษาในระดับสูง       เด็กยากจนและเด็กยากจนพิเศษ โดยอยู่ระหว่างด�าเนินการ
            (อุดมศึกษา/ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง)  รัฐมี      ส่วนเด็กกลุ่มอื่นยังไม่มีมาตรการที่ชัดเจน ท�าให้ยังไม่ได้รับ
            มาตรการในการลดความเหลื่อมล�้าด้านการศึกษา           การศึกษาขั้นพื้นฐาน และ/หรือจ�าเป็นต้องออกจากโรงเรียน

            โดยการจัดตั้งกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา      กลางคัน ในส่วนคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างมี
            เพื่อช่วยเหลือเด็กนักเรียนยากจนให้เข้าถึงการศึกษา   คุณภาพ พบว่า ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
            รวมทั้งเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาผ่านการพัฒนาครู
            และการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนครูในโรงเรียน

            เอกชน นอกจากนี้ รัฐยังมีการน�าเทคโนโลยีมาใช้ในการ
            ลดความเหลื่อมล�้าทั้งในมิติของการเข้าถึงและคุณภาพ
            การศึกษา  เช่น  การใช้เทคโนโลยีศึกษาทางไกล
            ผ่านดาวเทียม (DLTV) และผ่านสารสนเทศ (DLIT) การขยายผล

            จัดตั้งโรงเรียนเครือข่ายโครงการสานพลังประชารัฐ
            ด้านการศึกษาพื้นฐานและการพัฒนาผู้น�าทั้งสิ้น
            ๔,๕๙๗  แห่ง  และการจัดการเรียนการสอนผ่าน
            ระบบเปิดของมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย (MOOC)

                                                                                                               21
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27