Page 21 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 21

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          และการกระท�าให้บุคคลสูญหาย  พ.ศ.  ....  ตามมติ
          คณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
          (สนช.) เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฯ มาตรา ๗๗
          และได้สรุปผลการรับฟังความเห็นให้ สนช. ทราบ ต่อมา

          เมื่อวันที่  ๒๐  ธันวาคม  ๒๕๖๑  สนช.  ได้พิจารณา
          และมีมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว
          และแต่งตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาต่อไป
          นอกจากนี้  รัฐบาลได้แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการ

          เรื่องราวร้องทุกข์กรณีถูกกระท�าทรมานและถูกบังคับ
          ให้สูญหายเพื่อรับเรื่องร้องเรียน ตรวจสอบ เยียวยา
          และด�าเนินมาตรการป้องกันการทรมานและบังคับ           เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เสรีภาพ
          สูญหาย  รวมทั้งได้ตรวจสอบกรณีที่มีการร้องเรียน      ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ

          ต่อสหประชาชาติจ�านวน ๘๒ รายเพื่อหาข้อเท็จจริง       ในภาพรวมพบว่า  ในการดูแลและรักษาความสงบ
          และช่วยให้กรณีร้องเรียนหลายเรื่องได้รับการคลี่คลาย  เรียบร้อยของบ้านเมือง รัฐได้ใช้กลไกตามปกติมากขึ้น
                                                              กล่าวคือ  เป็นการด�าเนินการของเจ้าพนักงาน
          จากการประเมินสถานการณ์ด้านนี้ ยังมีประเด็นที่เป็น   ตามกฎหมายมากกว่าเจ้าหน้าที่ทหาร พร้อมน�ายุทธวิธี

          ข้อห่วงกังวล ได้แก่ การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ     ป้องปราม  ระงับ  ยับยั้งความรุนแรงมาปรับใช้
          ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ ซึ่งมีบางฝ่ายเห็นว่า    ในการเผชิญเหตุต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ สนช. ได้ให้
          ควรถอดหลักการส�าคัญบางประการตามอนุสัญญา             ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ
          CAT  โดยเฉพาะหลักการไม่สามารถผ่อนปรนได้             ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ....

          และหลักการห้ามผลักดันกลับไปเผชิญอันตรายออกจาก       ซึ่งท�าให้ก�าหนดการจัดการเลือกตั้งมีกรอบเวลา
          ร่างพระราชบัญญัติฯ  นอกจากนี้  กสม.  ยังคงได้รับ    ที่ชัดเจนขึ้น  อย่างไรก็ตาม  กสม.  ยังมีข้อห่วงกังวล
          เรื่องร้องเรียนที่กล่าวอ้างว่ามีการกระท�าท�าร้าย/ทรมาน  ในประเด็นที่เกี่ยวกับการบังคับใช้ประกาศ/ค�าสั่ง คสช.
          โดยเจ้าหน้าที่รัฐในปี ๒๕๖๑ จ�านวน ๒๐ ค�าร้อง จึงมี   หรือกฎหมายที่ออกตามมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนูญ

          ข้อเสนอแนะ  ๓  ประการ  คือ  (๑)  ในการพิจารณา       แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗
          ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ        ที่ส่งผลกระทบต่อสิทธิมนุษยชน  สิทธิทางการเมือง
          ควรค�านึงถึงความสอดคล้องกับสาระส�าคัญ               สิทธิชุมชน เสรีภาพสื่อ รวมถึงสิทธิเสรีภาพในการแสดง
          ของอนุสัญญา CAT (๒) ควรมีการดูแลและตรวจสอบ          ความคิดเห็น การชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ

          การปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐในการจับกุมและควบคุม  ของภาคประชาสังคม องค์กรชุมชน ภาควิชาการต่าง ๆ
          ตัวบุคคล และจัดให้มีคู่มือการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง   ที่มีการเคลื่อนไหวหรือชุมนุมเพื่อแสดงออกเกี่ยวกับ
          ต่อสิทธิมนุษยชนโดยภาพรวม  รวมทั้งมีการติดตาม        เหตุการณ์  หรือการด�าเนินการของรัฐที่กระทบ
          และประเมินผลการด�าเนินการเป็นระยะ และ (๓) ควรมี     ต่อคุณภาพชีวิตและสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ

          การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่รัฐถึงความ   นอกจากนั้น ยังพบการใช้ดุลพินิจตามพระราชบัญญัติ
          ส�าคัญในการป้องกันและปราบปรามการทรมาน               การชุมนุมสาธารณะ พ.ศ. ๒๕๕๘ ของเจ้าพนักงาน
          และการกระท�าให้บุคคลสูญหายอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้   ตามกฎหมายซึ่งส่งผลกระทบต่อการใช้เสรีภาพ
          มีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ รวมทั้งควรมีการจัดท�าหลักสูตร   ในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ รวมถึงมีการจับกุม

          การเรียนรู้ในเรื่องดังกล่าว                         กลุ่มที่แสดงความคิดเห็นต่างจากรัฐในความผิด
                                                              ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระท�าความผิดเกี่ยวกับ
                                                              คอมพิวเตอร์  พ.ศ.  ๒๕๕๐  และที่แก้ไขเพิ่มเติม



       20
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26