Page 20 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 20

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑


            ส่วนที่ ๑ การประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง มี ๓ ประเด็น คือ



            สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
            ในปี ๒๕๖๑ รัฐได้มีการด�าเนินขั้นตอนต่าง ๆ ในการปฏิรูป   ต่อการด�าเนินงานของหน่วยงานในกระบวนการ

            ประเทศตามที่ก�าหนดในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย    ยุติธรรม ดังนั้น กสม. จึงมีข้อเสนอแนะ ๔ ประการ คือ    บทสรุปผู้บริหาร
            พุทธศักราช  ๒๕๖๐  ในส่วนของกระบวนการ                (๑) การประชาสัมพันธ์ แจ้งสิทธิของประชาชนในการขอรับ
            ยุติธรรม  หลังจากที่มีการประกาศแผนการปฏิรูป         ความช่วยเหลือในการขอปล่อยตัวชั่วคราว
            ประเทศในด้านนี้แล้ว  รัฐได้จัดท�าร่างแผนแม่บท       และเร่งรัดการใช้หนังสือรับรองแทนการช�าระเงิน

            การบริหารงานยุติธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๒   ของส�านักงานกองทุนยุติธรรม (๒) การจัดท�าแผนปฏิรูป
            –  ๒๕๖๕)  เพื่อให้สอดคล้องกับแผนปฏิรูปประเทศ        ด้านกระบวนการยุติธรรมและการด�าเนินการตามแผน
            และมีการจัดท�าร่างพระราชบัญญัติระยะเวลา             อย่างจริงจัง (๓) การสร้างความรู้ความเข้าใจแก่สังคม
            ในการด�าเนินงานของกระบวนการยุติธรรม พ.ศ. .... เพื่อเป็น   อย่างต่อเนื่อง เพื่อน�าไปสู่การยกเลิกโทษประหารชีวิต

            หลักประกันว่า  ประชาชนจะได้รับความยุติธรรม          พร้อมกับการมีนโยบายในการตรากฎหมายใหม่โดยไม่มี
            โดยไม่ล่าช้า ในขณะเดียวกัน รัฐได้มีการด�าเนินการอื่น ๆ    โทษประหารชีวิต (๔) การศึกษาวิจัยและถอดบทเรียน
            เพื่อส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิของประชาชน ในกระบวนการ   จากสถานการณ์ต่าง ๆ ที่สะท้อนถึงความเชื่อมั่นของ
            ยุติธรรมมากขึ้น เช่น การให้ความช่วยเหลือทางเงิน     ประชาชนที่มีต่อกระบวนการยุติธรรม  เพื่อให้

            ในการประกันตัวแก่ประชาชนเพื่อให้ได้รับ              การอ�านวยความยุติธรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ       ข้อเสนอแนะของ กสม. ต่อสถานการณ์สิทธิมนุษยชน ๑๔ ประเด็น ในปี ๒๕๖๑
            การปล่อยชั่วคราวระหว่างการด�าเนินคดี                และสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชน รวมถึงการให้ความรู้
            ตามพระราชบัญญัติกองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมทั้ง    กับประชาชนในการด�าเนินคดี
            การอ�านวยความสะดวกเพื่อให้การด�าเนินการเป็นไป

            อย่างรวดเร็วโดยการใช้หนังสือรับรองการช�าระเงิน
            ของกองทุนยุติธรรมเป็นหลักประกันในการขอปล่อย
            ชั่วคราว และการประชาสัมพันธ์แก่ประชาชนในการที่จะ
            ขอรับความช่วยเหลืออย่างทั่วถึง การแก้ไขประมวล

            กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาที่เพิ่มดุลพินิจ
            แก่เจ้าพนักงานหรือศาลในการปล่อยชั่วคราวโดยไม่มี
            ประกันเพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่จ�าเลยหรือผู้ต้องหา
            จนเกินควร  และการมีความพยายามปฏิรูประบบ

            การคุ้มครองผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท�าความผิด
            ทางอาญา โดยมีการศึกษาวิจัยเรื่องดังกล่าวและการจัดท�า
            ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองช่วยเหลือผู้ได้รับความเสียหาย
            ในคดีอาญา พ.ศ. ....

                                                                การกระท�าทรมาน และการบังคับสูญหาย
            อย่างไรก็ตาม ในปี ๒๕๖๑ มีสถานการณ์ที่น่าห่วงใย      รัฐได้มีการด�าเนินการปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้
            ๒  ประการ  ได้แก่  ประเด็นที่เกี่ยวกับโทษประหาร     สอดคล้องกับพันธกรณีของไทยตามอนุสัญญา  CAT
            ชีวิตที่มีการบังคับใช้โทษประหารชีวิตเมื่อวันที่  ๑๘   และเพื่อรองรับการด�าเนินการตามอนุสัญญา CPED

            มิถุนายน  ๒๕๖๑  และความเชื่อมั่นของประชาชน          ที่ประเทศไทยได้ลงนามเมื่อเดือนมกราคม  ๒๕๕๙
            ต่อกระบวนการยุติธรรม  สะท้อนผ่านงานส�ารวจ           ต่อเนื่องจากปีก่อน  โดยได้จัดรับฟังความเห็นต่อ
            ความคิดเห็นของเอกชนและการแสดงออกของประชาชน          ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมาน



                                                                                                               19
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25