Page 139 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 139

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          กลุ่มที่ ๓ ผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย ได้แก่ ผู้หนีภัยการ  เป็นผู้แสวงหาที่พักพิงหรืออยู่ระหว่างการขอสถานะ
          สู้รบจากประเทศเมียนมาที่อยู่ในพื้นที่พักพิงชั่วคราว   เป็นผู้ลี้ภัยจาก UNHCR บุคคลในกลุ่มนี้มาจากประเทศต่าง ๆ
          ๙ แห่ง ใน ๔ จังหวัดตามแนวชายแดนประเทศไทย            ที่หลากหลาย เช่น ปากีสถาน โซมาเลีย ซีเรีย และอื่น ๆ
          (แม่ฮ่องสอน ตาก กาญจนบุรี และราชบุรี) ซึ่งตามข้อมูลของ  บางคนเข้าเมืองโดยถูกกฎหมายแต่อยู่ในประเทศไทย

          ส�านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยแห่งสหประชาชาติ (UN High    เกินก�าหนด บางคนเข้าเมืองโดยไม่มีเอกสารแสดงตน
          Commissioner for Refugees – UNHCR) ประจ�าประเทศไทย   จึงมีสถานะเป็นผู้เข้าเมืองผิดกฎหมาย  คนกลุ่มนี้
                                                                                                ๒๖๑
          ณ สิ้นปี ๒๕๖๑ มีจ�านวน ๙๗,๕๗๗ คน  นอกจากนี้         ไม่สามารถเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานได้เนื่องจากปัญหาสถานะ
                                             ๒๕๗
          มีผู้ลี้ภัยและผู้แสวงหาที่พักพิงอื่นจากประเทศต่าง ๆ กว่า    ทางกฎหมาย หากถูกจับจะถูกควบคุมตัวในห้องกักของ

          ๔๐ ประเทศที่อยู่นอกพื้นที่พักพิงชั่วคราวหรือที่เรียกว่าผู้ลี้ภัย/  ส�านักงานตรวจคนเข้าเมืองจนกว่าจะได้รับการประกันตัว
          ผู้แสวงหาที่พักพิงในเขตเมืองอีกประมาณกว่า ๗,๐๐๐ คน    หรือได้รับการส่งกลับหรือส่งไปประเทศที่สาม  ทั้งนี้
                                                       ๒๕๘
                                                              มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ ที่ให้มีกลไก
          การด�าเนินการของรัฐในส่วนของผู้หนีภัยการสู้รบ       คัดกรองผู้ลี้ภัยออกจากผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายซึ่งอยู่ระหว่าง

          จากประเทศเมียนมา หลังจากพัฒนาการทางการเมือง         การพิจารณาของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จะเป็นมาตรการ
          ในประเทศเมียนมามีแนวโน้มดีขึ้นตั้งแต่ปี ๒๕๕๘ รัฐบาล  หนึ่งที่ช่วยแก้ไขปัญหาและดูแลให้ผู้ลี้ภัยได้รับการคุ้มครอง
          ไทยได้มีโครงการส่งผู้หนีภัยการสู้รบเมียนมาในพื้นที่  ตามหลักสิทธิมนุษยชน
          พักพิงชั่วคราวตามแนวชายแดนกลับประเทศบนพื้นฐาน

          ของความสมัครใจและความปลอดภัย การด�าเนินการ          การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค
          ในโครงการดังกล่าวเป็นความร่วมมือกับรัฐบาลประเทศ     ในส่วนของแรงงานข้ามชาติ หลังจากที่รัฐบาลได้ผ่อนผัน
          เมียนมา UNHCR และองค์การระหว่างประเทศเพื่อการโยกย้าย   การบังคับใช้พระราชก�าหนดการบริหารจัดการการท�างาน
          ถิ่นฐาน (International Organization for Migration:   ของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ รัฐบาลได้ด�าเนินการจัด

          IOM) โดยมีการอ�านวยความสะดวกในการเดินทางกลับและ     ระเบียบแรงงานข้ามชาติผิดกฎหมายกว่า ๑.๓ ล้านคนเข้าสู่
          มีกระบวนการช่วยเหลือให้ผู้เดินทางกลับสามารถอยู่ร่วม  ระบบการท�างานที่ถูกต้องเสร็จสิ้นในเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑
          กับชุมชนได้อย่างยั่งยืน ประเทศไทยได้ส่งผู้หนีภัยกลุ่มแรก  และได้เริ่มบังคับใช้กฎหมายดังกล่าวอย่างจริงจัง โดยกรม
          กลับเมื่อเดือนตุลาคม ๒๕๕๙ จ�านวน ๗๑ คน และเมื่อเดือน  การจัดหางานร่วมกับส�านักงานต�ารวจแห่งชาติ ส�านักงาน

          พฤษภาคม ๒๕๖๑ ได้มีการส่งผู้หนีภัยกลุ่มที่ ๒ กลับจ�านวน   ตรวจคนเข้าเมือง และกรมการปกครองได้ท�าการตรวจสอบ
          ๙๓ คน  ในส่วนของการสมัครใจกลับ (voluntary           จับกุมและด�าเนินคดีคนต่างด้าวลักลอบท�างาน
                 ๒๕๙
          repatriation) รัฐบาลเมียนมาและไทยได้มีกระบวนการ     โดยไม่ได้รับอนุญาต ผลการด�าเนินการระหว่างวันที่ ๑ กรกฎาคม
          สัมภาษณ์ และมีการสนับสนุนเงินขวัญถุงส�าหรับผู้ที่   ๒๕๖๑ – ๒ มกราคม ๒๕๖๒ มีการตรวจสอบนายจ้าง/

          สมัครใจกลับ พร้อมกับดูแลการตั้งถิ่นฐาน การจัดหาที่พัก ที่ท�ากิน    สถานประกอบการไปแล้ว ๘,๘๐๖ ราย/แห่ง ด�าเนินคดี
          และการเข้ารับการศึกษา โดยรัฐบาลเมียนมายืนยัน        ๖๙๒ ราย/แห่ง และได้ตรวจสอบการท�างานของแรงงาน
          เรื่องความปลอดภัยและการได้รับบัตรประจ�าตัวประชาชน ๒๖๐  ต่างด้าว ๑๔๙,๓๑๕ คน จับกุมด�าเนินคดี ๔,๒๖๒ คน
                                                              ส่วนใหญ่เป็นชาวเมียนมา ๒,๙๑๔ คน รองลงมาเป็นกัมพูชา

          ในส่วนของกลุ่มผู้แสวงหาที่พักพิงในเขตเมือง มีผู้ที่ UNHCR    ๕๘๓ คน ลาว ๓๖๐ คน เวียดนาม ๒๓๓ คน และอื่น ๆ
          รับรองสถานะเป็นผู้ลี้ภัยแล้วประมาณ ๔,๐๐๐ คน ที่เหลือ   อีก ๑๗๒ คน ตามล�าดับ ผลักดันส่งกลับประเทศต้นทาง


          ๒๕๗  จาก ผู้ลี้ภัยในประเทศไทย, โดย ส�านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.unhcr.or.th
          ๒๕๘  จาก UNHRC ในประเทศไทย, โดย ส�านักงานข้าหลวงใหญ่ผู้ลี้ภัยสหประชาชาติ, [๒๕๖๑]. สืบค้นจาก https:www.unhcr.or.th/th/about/thailand
          ๒๕๙  จาก ข่าวสารนิเทศ รัฐบาลไทย – เมียนมาประสบความส�าเร็จในการส่งผู้หนีภัยการสู้รบกลับเมียนมากลุ่มที่ ๒ กลับประเทศ, โดย กระทรวงการต่างประเทศ, ๒๕๖๑.
          สืบค้นจาก http://www.mfa.go.th/main/th/news3/6886/88966
          ๒๖๐  จาก รายงานสรุปการน�าเสนอสถานการณ์พัฒนาการการด�าเนินการตามมติ ครม. ๑๐ มกราคม ๒๕๖๐ เกี่ยวกับผู้หนีภัยจากการสู้รบ ผู้พลัดถิ่น ผู้ลี้ภัยในพื้นที่พักพิงชั่วคราว/
          ในเมือง ผู้แสวงหาที่พักพิง/ลี้ภัย และผู้อพยพแบบไม่ปกติ, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๑.
          ๒๖๑  จาก ผู้ลี้ภัยในกรุงเทพฯ, โดย Asylum Access, [๒๕๖๑]. สืบค้นจาก https://asylumaccess.org/urban-refugees-bangkok/


      138
   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144