Page 135 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 135
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
ระบบประกันสุขภาพภาครัฐของคนพิการ รัฐโดยหน่วย
งานที่เกี่ยวข้องได้ตระหนักและเห็นความส�าคัญของปัญหา
ความเหลื่อมล�้าเรื่องสิทธิประโยชน์ในบริการสาธารณสุข
ของคนพิการจึงได้มีการด�าเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล�้าของสิทธิประโยชน์
ส�าหรับคนพิการในระบบประกันสุขภาพภาครัฐ เพื่อให้
คนพิการได้รับประโยชน์จากการใช้บริการสาธารณสุข
อย่างสูงสุด อาทิ บริการฟื้นฟูสมรรถภาพ อุปกรณ์เครื่องช่วย
ตามประเภทความพิการ รวมถึงได้รับการพัฒาศักยภาพ
ในรูปแบบต่าง ๆ
การเข้าถึงสิ่งอ�านวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะ ส�าหรับ
คนพิการที่ผ่านมาพบว่าคนพิการยังมีข้อจ�ากัดในการเข้าถึง
สิ่งอ�านวยสะดวกอันเป็นสาธารณะ โดยเฉพาะคนพิการ
ในพื้นที่ชนบท ทั้งนี้ อุปสรรคต่อการพัฒนาระบบบริการ
การจ้างงานคนพิการ ปัจจุบันมีคนพิการที่อยู่ในวัยท�างาน ภาคขนส่งและสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการมีหลาย
จ�านวน ๘๘๒,๕๗๖ คน โดยมีจ�านวนคนพิการในวัยท�างาน สาเหตุ เช่น การขาดการบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน
ที่ประกอบอาชีพ จ�านวน ๒๑๘,๓๙๒ คน จากข้อมูลพบว่า ที่เกี่ยวข้อง การขาดการบริหารจัดการที่ส่งผลเป็นรูปธรรม
คนพิการในวัยท�างานที่สามารถประกอบอาชีพได้ การขาดแคลนบุคลากรที่มีทักษะและองค์ความรู้
แต่ยังไม่ได้ประกอบอาชีพมีจ�านวน ๑๕๖,๙๐๕ คน การขาดแคลนระบบนวัตกรรม/เทคโนโลยีที่เหมาะสม เป็นต้น
๒๔๒
โดยต�าแหน่งงานที่เป็นที่ต้องการของนายจ้าง คือ งานธุรการ/
สนับสนุนทั่วไป โดยต้องการคนพิการประเภทเคลื่อนไหว นโยบายและแนวทางการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทางการได้ยิน/สื่อความ และทางการมองเห็น ตามล�าดับ คนพิการที่ไม่มีสัญชาติไทย
ทั้งนี้ ปัญหาด้านการจ้างงานของคนพิการนั้น ยังขาดกลไก
การประสานระหว่างนายจ้างและคนพิการ และพบปัญหา ส�าหรับแนวทางการให้ความช่วยเหลือแก่คนพิการที่ไม่มี
อุปสรรคการจ้างงานคนพิการ คือ ปัญหาลักษณะงาน สถานะทางทะเบียนราษฎรนั้น กรมส่งเสริมและพัฒนา
ไม่ตรงตามความต้องการระหว่างนายจ้างกับคนพิการ การขาด คุณภาพชีวิตคนพิการได้พิจารณาแนวทาง พร้อมทั้ง
งบประมาณในการจัดกิจกรรมส�าหรับการจัดหางาน ขับเคลื่อนการให้ความช่วยเหลือบุคคลกลุ่มนี้อย่างต่อเนื่อง
แก่คนพิการ การขาดงบประมาณส�าหรับหน่วยงานส่วนกลางและ เพื่อให้ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการที่เหมาะสมจากรัฐ
ส่วนภูมิภาคในการตรวจสอบสถานประกอบการที่มีการจ้าง โดยได้เร่งร่างระเบียบที่เกี่ยวข้องซึ่งอยู่ระหว่าง
คนพิการ คนพิการส่วนใหญ่ไม่มีวุฒิการศึกษา ตลอดจน เตรียมการน�าเสนอที่ประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนา
นายจ้างและคนพิการขาดความรู้ความเข้าใจกฎหมาย คุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติเพื่อพิจารณา
ที่เกี่ยวข้องกับคนพิการ
๒๔๒ จาก รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย, แหล่งเดิม. ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๑,
คนพิการที่อยู่ในวัยท�างาน (อายุ ๑๕ - ๖๐ ปี) จ�านวน ๘๘๒,๕๗๖ คน แบ่งเป็น
๑. คนพิการในวัยท�างานที่ประกอบอาชีพ จ�านวน ๒๑๘,๓๙๒ คน (ร้อยละ ๒๔.๗๔)
๒. คนพิการในวัยท�างานที่สามารถประกอบอาชีพได้ แต่ยังไม่ได้ประกอบอาชีพ จ�านวน ๑๕๖,๙๐๕ คน (ร้อยละ ๑๗.๗๘)
๓. คนพิการในวัยท�างานที่ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ (พิการมากช่วยเหลือตนเองไม่ได้) จ�านวน ๕๙,๗๑๒ คน (ร้อยละ ๖.๗๗)
๔. คนพิการที่ไม่ประสงค์ให้ข้อมูลด้านอาชีพ จ�านวน ๔๔๗,๕๖๗ คน (ร้อยละ ๕๐.๗๑)
๕. การประกอบอาชีพของคนพิการอื่นๆ/ไม่ระบุ ร้อยละ ๓๗.๘๓ เกษตรกรรม ร้อยละ ๒๕.๗๙ รับจ้างทั่วไป ร้อยละ ๒๔.๖๖ ประกอบกิจการส่วนตัว/อาชีพอิสระ ร้อยละ ๖.๖๗
ลูกจ้างภาคเอกชน ร้อยละ ๔.๖๙ และรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ ร้อยละ ๐.๓๖
134