Page 137 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 137

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ผ่านมาตรการจดทะเบียนแรงงานต่างด้าวและขออนุญาต       และบุคคลไร้รากเหง้า ไม่ปรากฏบุพการีหรือถูกทอดทิ้ง
          ท�างาน โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม   แต่วัยเยาว์ เป็นต้น การที่บุคคลไม่มีสถานะทางกฎหมายท�าให้
          ๒๕๖๑ ขยายเวลาในการจดทะเบียนแรงงานข้ามชาติกลุ่มนี้   เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิและสวัสดิการต่าง ๆ อาทิ
          จนถึงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๑ และให้แรงงานที่ยังไม่ได้  ด้านการศึกษาและสาธารณสุข รัฐบาลได้พยายามแก้ไข

          พิสูจน์สัญชาติด�าเนินการดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายในวันที่   ปัญหาคนกลุ่มนี้มาอย่างยาวนาน แต่ได้มีการด�าเนินการ
          ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๑ รวมทั้งให้จัดท�าทะเบียนประวัติแก่   อย่างเป็นระบบมากขึ้นภายใต้ยุทธศาสตร์การจัดการปัญหา
          ผู้ติดตามที่เป็นบุตรของแรงงานข้ามชาติที่อายุไม่เกิน ๑๘ ปี    สถานะและสิทธิของบุคคลที่ได้รับความเห็นชอบจาก
          และอนุญาตให้อยู่ในประเทศได้เป็นการชั่วคราว          คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๔๘ และได้มี

          ตามระยะเวลาที่บิดามารดาได้รับอนุญาต  ซึ่งเป็นมาตรการ  การให้สถานะหรือสัญชาติแก่บุคคลในกลุ่มนี้มาโดยล�าดับ
                                          ๒๔๖
          ส�าคัญที่ช่วยป้องกันภาวะไร้รัฐในเด็ก นอกจากนี้ รัฐยังได้มี  อย่างไรก็ตาม ยังคงมีผู้ไร้รัฐที่ต้องได้รับการแก้ไขปัญหา
          การปรับปรุงกฎหมายโดยประกาศใช้พระราชก�าหนดการ        สถานะและสิทธิอีกเกือบ ๕๐๐,๐๐๐ คน
                                                                                               ๒๔๗
          บริหารจัดการการท�างานของแรงงานต่างด้าว (ฉบับที่ ๒)

          พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อให้การด�าเนินการจัดระเบียบการน�า     ในปี ๒๕๖๑ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย ได้จัดท�า
          แรงงานต่างด้าวเข้ามาท�างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  ทะเบียนราษฎรของบุคคลในกลุ่มนี้ทั้งกลุ่ม ชาติพันธุ์
          มากขึ้นด้วย                                         และผู้ไร้รัฐอื่น รวมจ�านวน ๔๘๔,๕๐๘ ราย  ซึ่งในการยื่นขอ
                                                                                              ๒๔๘
                                                              สถานะหรือสัญชาติพบปัญหาต่าง  ๆ  อาทิ  การขาด

          กลุ่มที่ ๒ บุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ ที่อาศัยอยู่ในประเทศไทย  หลักฐานยื่นพิสูจน์ตัวตนหรือหลักฐานไม่มีความชัดเจน
          ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มย่อยหลายกลุ่ม เช่น คนที่อพยพเข้ามา   กระบวนการและขั้นตอนการลงรายการและเปลี่ยน/แปลง
          อยู่ในประเทศไทยเป็นเวลานาน รวมถึงชนกลุ่มน้อยเผ่าต่าง ๆ    สัญชาติมีความล่าช้า ปัญหาการลงรายการสถานะบุคคล
          และบุตรที่เกิดในประเทศไทย  ผู้ที่ได้รับผลกระทบ      ผิดพลาด ผู้ยื่นเอกสารขอลงรายการหรือเปลี่ยน/แปลงสัญชาติ

          ด้านสัญชาติจากประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ ๓๓๗ เมื่อปี   มักได้รับค�าปฏิเสธจากเจ้าหน้าที่รัฐหรือต้องรอการด�าเนินการ
          พ.ศ. ๒๕๑๕ เด็กและบุคคลที่ก�าลังศึกษาในประเทศไทย     เป็นเวลานาน  เนื่องจากมีบุคคลยื่นขอเปลี่ยน/แปลง
                                                                         ๒๔๙


























          ๒๔๖  จาก ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง การอนุญาตให้คนต่างด้าวบางจ�าพวกเข้ามาอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษ ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๑.
          (๒๕๖๑, ๖ กุมภาพันธ์). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๕ (ตอนพิเศษ ๒๙ง), ๑๐- ๑๕.
          ๒๔๗  จาก สถานการณ์และแนวทางแก้ไขปัญหาคนไร้รัฐไร้สัญชาติในประเทศไทย, โดย กฤษฎา บุญราช, ๒๕๖๐, ใน ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับสัญชาติและสิทธิในความเป็น
          พลเมืองของรัฐไทย (น. ๓๓ – ๓๕). กรุงเทพฯ: ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.
          ๒๔๘  จาก หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๒๑๑.๔/๐๘๘๒๙ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
          ของประเทศไทย ประจ�าปี ๒๕๖๐ และรายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐.
          ๒๔๙  จาก การเข้าถึงสิทธิในสัญชาติในประเทศไทย บทวิเคราะห์ปัญหาทางปฏิบัติ และข้อเสนอแนะ (น. ๓๒), โดย ดรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล, ชุติ งามอุรุเลิศ, ลืนหอม สายฟ้า และ
          สรินยา กิจประยูร, ๒๕๖๐, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะนิติศาสตร์. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๐.


      136
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142