Page 140 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 140
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
๓,๔๗๒ คน ทั้งนี้ การบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจัง ในส่วนของผู้หนีภัยการสู้รบ พัฒนาการทางการเมืองที่ดีขึ้น
๒๖๒
จะมีผลในทางป้องปรามมิให้นายจ้างและแรงงานข้าม ในประเทศเมียนมาท�าให้สามารถส่งผู้หนีภัยในพื้นที่พักพิง
ชาติลักลอบจ้างงาน/ท�างานผิดกฎหมายเช่นที่ผ่านมา ชั่วคราวกลับโดยสมัครใจได้จ�านวนหนึ่ง แต่จ�านวนผู้สมัครใจ
อย่างไรก็ดี มีรายงานว่าแรงงานข้ามชาติมีปัญหาอุปสรรค เดินทางกลับยังมีไม่มากแม้ว่าจะมีมาตรการให้ความช่วยเหลือ
บางประการในการจดทะเบียนเกิดบุตรที่เกิดในประเทศไทย แก่ผู้เดินทางกลับในการตั้งถิ่นฐาน ส่วนการด�าเนินการ
ที่ต้องมีการใช้เอกสารบัตรประจ�าตัวและทะเบียนบ้าน เกี่ยวกับผู้แสวงหาที่พักพิง ในปี ๒๕๖๑ กสม. ได้รับเรื่อง
ของนายจ้าง แต่นายจ้างบางรายไม่เข้าใจและไม่ยินยอมให้ใช้ ร้องเรียนจ�านวน ๗ เรื่อง โดยมีประเด็นที่กล่าวอ้างตามค�าร้อง
๒๖๕
เอกสารดังกล่าว ท�าให้หน่วยงานไม่สามารถออกสูติบัตร อาทิ กรณีเสียชีวิตของผู้ต้องกักเนื่องจากภาวะการเจ็บป่วย
ให้ได้ ส่งผลกระทบถึงการขอใช้สิทธิประกันสังคม ตามธรรมชาติและการอยู่ในห้องกักที่มีสภาพแออัดเป็นระยะ
ในส่วนค่าคลอดบุตรและค่าสงเคราะห์บุตร ยาวนาน กรณีการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็กผู้หนีภัยจาก
๒๖๓
การสู้รบในพื้นที่พักพิงชั่วคราว และกรณีการถูกท�าร้ายร่างกาย
ในส่วนของกลุ่มบุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ แม้ว่ารัฐจะได้มีนโยบาย ในระหว่างการควบคุม/กักตัว ซึ่งอยู่ระหว่างการตรวจสอบ
และมีการปรับปรุงกฎหมาย เพื่อเอื้อประโยชน์ในการขอ ของ กสม. ทั้งนี้ ที่ผ่านมา กสม. ได้เคยตรวจเยี่ยมห้องกัก
สถานะหรือสัญชาติไทยของคนกลุ่มนี้มากขึ้น แต่ยังมีปัญหา ในหลายพื้นที่โดยได้รับความร่วมมือจากส�านักงานตรวจคน
อุปสรรคในการปฏิบัติพอสมควร ท�าให้การด�าเนินการ เข้าเมืองด้วยดี และพบว่าผู้หลบหนีเข้าเมืองบางรายอาจเป็น
ในเรื่องสถานะบุคคลยังไม่คืบหน้าเท่าที่ควร และยังมี ผู้หนีภัยอันตรายเข้ามาในประเทศไทยและไม่สามารถส่งกลับ บทที่ ๔
ผู้ไร้รัฐ/ไร้สัญชาติบางกลุ่มที่ประสบปัญหานี้ ซึ่งส่งผล ประเทศต้นทางได้ ท�าให้ต้องถูกกักอย่างไม่มีก�าหนด สภาพ
๒๖๔
กระทบต่อสิทธิและความเป็นอยู่ของคนกลุ่มดังกล่าว ความแออัดในห้องกักกอปรกับข้อจ�ากัดในการเข้าถึง
ส่วนประเด็นสิทธิทางการศึกษาพบว่ามีการด�าเนินการที่ท�าให้ การรักษาพยาบาลอาจท�าให้ผู้ต้องกักที่สุขภาพไม่แข็งแรง
ปัญหาคลี่คลายโดยกลุ่มเด็กไร้รัฐ/ไร้สัญชาติส่วนใหญ่ เกิดการเจ็บป่วยถึงขั้นรุนแรงได้ อย่างไรก็ดี รัฐมีความพยายามที่จะ
โดยเฉพาะเด็กที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือในพื้นที่ชายแดน ไม่ควบคุมตัวเด็กไว้ในห้องกักเพื่อให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติ
ของประเทศไทย ได้รับการศึกษาในโรงเรียนในพื้นที่ที่ตน ระหว่างประเทศที่เห็นว่าการกักตัวเป็นระยะเวลายาวนาน
และครอบครัวอาศัยอยู่แม้ว่าจะยังไม่ได้รับสถานะทาง จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็กในอนาคต โดยหน่วยงาน
กฎหมายก็ตาม อย่างไรก็ดี มีผู้ไร้รัฐ/ไร้สัญชาติบางกลุ่มที่ ที่เกี่ยวข้องอยู่ระหว่างการพิจารณาท�าบันทึกความเข้าใจ
อาจยังไม่สามารถเข้าถึงกระบวนการขอสถานะ/สัญชาติ ระหว่างกันในการด�าเนินงานด้านนี้ ซึ่งถือเป็นความก้าวหน้า การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
ตามนโยบายของรัฐ เช่น ผู้สูงอายุไร้สัญชาติที่ตกส�ารวจ ที่ส�าคัญเนื่องจากมาตรการดังกล่าวจะช่วยให้เด็กได้รับ
และยังไม่มีข้อมูลทางทะเบียน ท�าให้ประสบปัญหา ความคุ้มครองบนพื้นฐานของการค�านึงถึงประโยชน์สูงสุดของเด็ก
ในการเข้ารับบริการสาธารณสุข ตามหลักการของอนุสัญญา CRC ซึ่งประเทศไทยเป็นภาคี
๒๖๒ จาก ปี ๖๑ ผลตรวจเข้มการท�างานของแรงงานต่างด้าวได้ผล, โดย ส�านักข่าวไทย, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก https://www.tnamcot.com/view/5c2db397e3f8e4fa9b21afc4
๒๖๓ จาก ปัญหาการจดทะเบียนการเกิดเด็กข้ามชาติ : ระเบียบที่สร้างสะพานหรือกั้นก�าแพง, โดย ภาคภูมิ แสวงค�า, Hfocus เจาะลึกระบบสุขภาพ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก
https://www.hfocus.org/content/2018/10/16422
๒๖๔ จาก การเข้าถึงสิทธิในสัญชาติในประเทศไทย บทวิเคราะห์ปัญหาทางปฏิบัติ และข้อเสนอแนะ. เล่มเดิม. (น. ๖๖).
๒๖๕ จาก ระบบสารสนเทศเพื่อการรวบรวมและบริการสารสนเทศด้านสิทธิมนุษยชน, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ, ๒๕๖๒. สืบค้นจาก http://hris.nhrc.
or.th/nhrc2015/CreateComplaint/Report_Statistic1_6.aspx#/
139