Page 134 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 134

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ศูนย์บริการคนพิการ จากข้อมูลพบว่าคนพิการจ�านวนมาก   มีการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษา โดยพบปัญหาอุปสรรค
            อาศัยอยู่ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยละ ๔๐.๕๙   การด�าเนินการเพื่อการศึกษาส�าหรับคนพิการ คือ งบประมาณ
            ภาคเหนือร้อยละ ๒๒.๔๗ ภาคกลางร้อยละ ๒๐.๔๙            ที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอต่อการบริหารจัดการเรียนร่วม
            โดยกรุงเทพมหานครมีคนพิการอาศัยอยู่น้อยที่สุด ร้อยละ   ส่งผลให้เด็กพิการไม่ได้รับบริการเทคโนโลยี สิ่งอ�านวย

            ๔.๓๕  เมื่อเทียบกับจ�านวนคนพิการทั่วประเทศ ซึ่งพบว่า   ความสะดวก สื่อ และบริการทางการศึกษา ตลอดจนการปรับ
                 ๒๓๙
            คนพิการส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ชนบท โดยอุปสรรค    สภาพแวดล้อมที่สอดคล้องกับความต้องการจ�าเป็น ทั้งยังพบ
            ด้านความพิการอาจท�าให้คนพิการที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกล  ปัญหาอัตราเงินสนับสนุนรายหัวส�าหรับเด็กพิการในโรงเรียน
            เข้าถึงสิทธิประโยชน์ของตนได้ยาก ทั้งนี้ หากมีการขยาย  จัดการเรียนร่วมซึ่งเท่ากับนักเรียนทั่วไป ในขณะที่นักเรียน

            ศูนย์บริการคนพิการให้ทั่วถึงโดยเฉพาะพื้นที่ห่างไกล  พิการมีความต้องการจ�าเป็นมากกว่า อัตราเงินอุดหนุนค่าใช้จ่าย
            จะท�าให้คนพิการได้รับการแนะน�า ช่วยเหลือ ฟื้นฟูและ  รายบุคคลนักเรียนพิการจึงมักไม่เพียงพอต่อการจัด
            พัฒนาศักยภาพเบื้องต้นที่เหมาะสมและด�าเนินการส่งต่อ  การศึกษาอย่างมีคุณภาพให้สอดคล้องกับความต้องการจ�าเป็น
            ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ทันท่วงที ส่งผลให้การเข้าถึง   ของนักเรียนพิการแต่ละบุคคล  นอกจากนี้  บุคลากร

            สิทธิต่าง ๆ และการแก้ไขปัญหาเบื้องต้นของคนพิการ     ทางการศึกษายังขาดองค์ความรู้ด้านการจัดการเรียนการสอน การวัด
            ตลอดจนการฟื้นฟู พัฒนาศักยภาพของคนพิการบรรลุผล       และประเมินผลที่เหมาะสมกับคนพิการแต่ละคน สถานศึกษา
            เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น                              ยังขาดระบบการสนับสนุนนักเรียนในระยะเปลี่ยนผ่าน
                                                                เพื่อเตรียมความพร้อมส�าหรับการด�ารงชีวิตและการประกอบ  บทที่ ๔

            การศึกษาของคนพิการ การจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการ     อาชีพหลังจบการศึกษา ตลอดจนการบูรณาการระหว่าง
            เป็นสิทธิที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญและพันธกรณี  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กร
            ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน โดยเป็นสิ่งที่รัฐต้องจัดให้   คนพิการ ด้านการจัดการเรียนรวมการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคง
            อย่างเท่าเทียมกับการศึกษาของบุคคลทั่วไปโดยไม่มีค่าใช้จ่ายใด ๆ    พบปัญหาการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (inclusive

            ปัจจุบันรัฐได้สนับสนุนให้คนพิการเข้าถึงการศึกษาและมี   education) คือ ผู้บริหาร บุคลากร ยังมีทัศนคติไม่ถูกต้อง
            การศึกษาในระดับที่สูงขึ้น อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลยังพบว่ามี   ขาดความรู้และทักษะในการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม
            คนพิการที่อายุถึงเกณฑ์แต่ไม่ได้รับการศึกษาจ�านวนมากถึง    ส่งผลให้นักเรียนพิการส่วนหนึ่งถูกปฏิเสธจากสถานศึกษา ๒๔๑
            ๘๙,๔๓๗ คน  คนพิการส่วนใหญ่ที่ได้รับการศึกษา                                                             การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
                        ๒๔๐



























            ๒๓๙  จาก รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย, โดย กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ, ๒๕๖๑.
            สืบค้นจาก http://dep.go.th/?q=th/search/content/รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย
            ๒๔๐  จาก รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านคนพิการในประเทศไทย. แหล่งเดิม. ข้อมูลสิ้นสุด ณ วันที่ ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๑.
            ๒๔๑  จาก หนังสือกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ศธ ๐๒๐๘/๑๘๕๔ ลงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง ข้อมูลเพื่อประกอบการจัดท�ารายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
            ของประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๕๖๑.


                                                                                                              133
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139