Page 144 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 144

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ๓. แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๓                และการท�าร้ายบุคคลเหล่านี้ ด�าเนินการเพื่อหยุดการคุกคาม
            (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑)                                  และข่มขู่นักปกป้องสิทธิมนุษยชนในทุกรูปแบบ จัดท�า
            นักปกป้องสิทธิมนุษยชน หมายถึง บุคคล หรือกลุ่มบุคคล  มาตรการที่มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันความรุนแรงและ
            ที่ส่งเสริมและต่อสู้เพื่อให้เกิดการคุ้มครอง และตระหนักถึง  การก่ออาชญากรรมต่อบุคคลเหล่านี้ ประกันให้มีการสอบสวน

            สิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน ทั้งในระดับประเทศ   ข้อกล่าวหาการท�าร้ายนักปกป้องสิทธิมนุษยชนโดยพลัน
            และระหว่างประเทศตามปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและ            และอย่างถี่ถ้วน และน�าผู้กระท�าผิดมาลงโทษ ๒๗๓
            ความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กร
            ของสังคมในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและ     ๕. เรื่องร้องเรียนต่อคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน

            เสรีภาพขั้นพื้นฐาน อย่างไรก็ตาม แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ    แห่งชาติ
            ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๑) ไม่ได้มีการก�าหนดให้   คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติได้รับค�าร้อง
            นักปกป้องสิทธิมนุษยชนเป็นกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ         เกี่ยวกับกรณีนักปกป้องสิทธิมนุษยชนขอรับการสนับสนุน
                                                                เงินกองทุนยุติธรรมเพื่อใช้เป็นหลักประกันในการปล่อย

            ๔. การทบทวนสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของ                 ชั่วคราวให้แก่นักปกป้องสิทธิมนุษยชนที่ถูกฟ้องด�าเนินคดี
            ประเทศไทย ภายใต้กระบวนการ Universal                 แต่คณะอนุกรรมการกองทุนยุติธรรมประจ�าจังหวัดล�าปาง
            Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒                      คณะอนุกรรมการช่วยเหลือประจ�าจังหวัดสกลนคร และ
            ประเทศไทยได้รับข้อเสนอแนะภายใต้กลไก  UPR            คณะอนุกรรมการกองทุนยุติธรรมประจ�าจังหวัดเลย         บทที่ ๔

            รอบที่ ๒ และมีค�ามั่นโดยสมัครใจที่เกี่ยวข้องกับนักปกป้อง  ปฏิเสธค�าร้องขอรับความช่วยเหลือ โดยให้เหตุผลว่า
            สิทธิมนุษยชนหลายข้อ เช่น ให้การคุ้มครองนักปกป้อง    การกระท�าของผู้ขอรับความช่วยเหลือมีมูลน่าเชื่อว่าเป็น
            สิทธิมนุษยชนและสอบสวนคดีการข่มขู่ การคุกคาม         ผู้กระท�าความผิดตามข้อกล่าวหา หรือในขณะยื่นค�าขอ    การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม











































            ๒๗๓  จาก ข้อเสนอแนะที่ประเทศไทยได้รับและค�ามั่นโดยสมัครใจภายใต้กลไก Universal Periodic Review (UPR) รอบที่ ๒ (น. ๓๑), โดย กรมองค์การระหว่างประเทศ
            กระทรวงการต่างประเทศ, ๒๕๕๙, กรุงเทพฯ: กรมองค์การระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ.


                                                                                                              143
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149