Page 141 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 141

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ข้อเสนอแนะ                                          ยื่นขอและได้รับสถานะหรือสัญชาติตามหลักเกณฑ์ที่ก�าหนด
          กลุ่มที่ ๑ แรงงานข้ามชาติ                           เพื่อให้เข้าถึงสวัสดิการของรัฐรวมถึงบริการด้านสาธารณสุขได้
          รัฐควรมีการให้ความรู้และสร้างความเข้าใจแก่นายจ้างและ
          แรงงานต่างด้าวเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชก�าหนดการ  ในการประกาศพื้นที่อนุรักษ์ เช่น เขตอุทยานแห่งชาติ

          บริหารจัดการการท�างานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐    หากพบว่ามีชุมชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มาแต่เดิมเป็นเวลานานและ
          และที่แก้ไขเพิ่มเติม รวมถึงขั้นตอนการปฏิบัติ สิทธิและ  มีวิถีชีวิตหรือวัฒนธรรมที่ผูกพันกับพื้นที่ รัฐอาจพิจารณา
          หน้าที่ของแต่ละฝ่าย ในภาษาที่เข้าใจได้ง่าย รวมถึงควรให้  ความเป็นไปได้ที่จะให้ชุมชนนั้นอยู่กับป่าและช่วยอนุรักษ์ป่า
          ความส�าคัญกับการควบคุมดูแลการประกอบกิจการจัดหา      แต่หากไม่สามารถด�าเนินการได้และจ�าเป็นต้องย้ายชุมชน

          งานด้วยเพื่อมิให้มีการเอารัดเอาเปรียบแรงงานหรือเรียก   ออกจากพื้นที่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรปฏิบัติตามขั้นตอน
          ค่าใช้จ่ายเกินกว่าที่กฎหมายก�าหนดซึ่งจะช่วยป้องกัน   ที่กฎหมายก�าหนดเพื่อไม่ให้มีการใช้ก�าลังเกินสมควร
          การค้ามนุษย์ได้อีกทางหนึ่ง                          ที่กระทบสิทธิและสร้างความเสียหายแก่ผู้ที่อยู่ในชุมชน
                                                              นั้น ตามแนวค�าพิพากษาศาลปกครองสูงสุดกรณีการปฏิบัติ

          หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาแนวทางแก้ไขปัญหา     ต่อชุมชนชาวกะเหรี่ยงในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
          การจดทะเบียนการเกิดบุตรของแรงงานข้ามชาติที่เกิด     รวมทั้งจัดหาพื้นที่อยู่อาศัยใหม่ที่โดยค�านึงถึงความเหมาะสม
          ในประเทศไทย โดยอาจพิจารณาทบทวนความจ�าเป็นของ        ของสภาพพื้นที่กับวิถีการด�ารงชีวิตของชุมชนประกอบด้วย
          เอกสารต่าง ๆ ที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนการเกิดหรือ

          ท�าความเข้าใจกับนายจ้างเกี่ยวกับเอกสารที่ต้องใช้    กลุ่มที่ ๓ ผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย
          เพื่อให้เด็กที่เป็นบุตรแรงงานข้ามชาติได้รับการจดทะเบียน  รัฐบาลไทยควรร่วมมือกับรัฐบาลประเทศเมียนมา UNHCR
          เกิดอย่างทั่วถึงและเป็นการป้องกันภาวะไร้รัฐในเด็กกลุ่มนี้   และองค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง ในการให้ข้อมูล
          รัฐควรมีการติดตามผลการบังคับใช้พระราชก�าหนดการ      และเตรียมความพร้อมแก่ผู้หนีภัยการสู้รบชาวเมียนมาใน

          บริหารจัดการการท�างานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐    พื้นที่พักพิงชั่วคราวที่สมัครใจเดินทางกลับอย่างต่อเนื่อง
          และที่แก้ไขเพิ่มเติม เป็นระยะ ๆ เพื่อให้ทราบถึงปัญหา  ทั้งนี้โดยค�านึงถึงสถานการณ์ความปลอดภัยในประเทศ
          อุปสรรคในการปฏิบัติและปรับแนวทางการด�าเนินการ       เมียนมาเป็นส�าคัญ
          เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิผล



          กลุ่มที่ ๒ บุคคลไร้รัฐ/ไร้สัญชาติ
          รัฐควรมีมาตรการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนและ
          เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ประกอบการขอมีสถานะ/

          สัญชาติแก่มีผู้มีสิทธิยื่นค�าขอตามนโยบายและกฎหมายที่
          เกี่ยวข้องในภาษาที่ผู้มีสิทธิยื่นค�าขอ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นกลุ่ม
          ชาติพันธุ์เผ่าต่าง ๆ สามารถเข้าใจได้ ทั้งนี้ หน่วยงานอาจขอ
          ความร่วมมือจากองค์กรภาคประชาสังคมในพื้นที่ในการสร้าง

          ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว


          รัฐควรพิจารณาแนวทางการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ
          กลุ่มชาติพันธุ์ที่อยู่อาศัยในประเทศไทยมาเป็นเวลานานแต่ไม่อาจ

          ขอสถานะ/สัญชาติได้เนื่องจากไม่ได้แสดงตนเมื่อรัฐ
          ท�าการส�ารวจประชากรกลุ่มชาติพันธุ์เพื่อจัดท�าทะเบียน ให้สามารถ





      140
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146