Page 142 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 142

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            รัฐควรเร่งรัดการพิจารณากลไกคัดกรองผู้เข้าเมือง      ที่ได้ผล สหประชาชาติโดย UNHCR จึงได้รณรงค์ให้ประเทศ
            ผิดกฎหมายเพื่อจ�าแนกผู้แสวงหาที่พักพิงออกจาก        ต่าง ๆ พิจารณามาตรการทางเลือกอื่นแทนการควบคุมตัว
            ผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายอื่น และพิจารณาก�าหนดนโยบายหรือ   ผู้แสวงหาที่พักพิงที่เข้าเมืองโดยไม่ได้รับอนุญาต โดยเฉพาะ
            แนวทางในการปฏิบัติต่อคนกลุ่มนี้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้    อย่างยิ่งผู้แสวงหาที่พักพิงที่เป็นเด็ก ซึ่งจะเป็นผลดีต่อ

            ตามกฎหมายระหว่างประเทศ บุคคลมีสิทธิที่จะแสวงหา      ผู้แสวงหาที่พักพิงและลดภาระของรัฐในการดูแลผู้แสวงหา
            ที่พักพิงเพื่อหนีภัย และการควบคุมตัวผู้แสวงหาที่พักพิงที่  ที่พักพิงทั้งในด้านงบประมาณและบุคลากร
            เดินทางเข้าเมืองผิดกฎหมายไม่ได้เป็นมาตรการแก้ไขปัญหา



            ๔.๕ นักปกป้องสิทธิมนุษยชน


            ภาพรวม
            ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล    รัฐแต่ละรัฐมีความรับผิดชอบและหน้าที่ในเบื้องแรก

            กลุ่มบุคคล และองค์กรของสังคมในการส่งเสริมและ        ที่จะคุ้มครอง ส่งเสริม และน�าสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ
            คุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งเป็น   ขั้นพื้นฐานไปปฏิบัติ  แม้ว่าปฏิญญาดังกล่าวจะไม่ก่อให้
                                                                                ๒๖๗
            ที่ยอมรับอย่างสากล (Declaration on Human Right and   เกิดพันธกรณีระหว่างประเทศ แต่เนื่องจากเป็นเอกสาร
            Responsibility of Individuals, Groups and Organs of    ที่สหประชาชาติให้การรับรองและประเทศไทยได้ร่วม    บทที่ ๔

            Society to Promote and Protect Universally Recog-   อุปถัมภ์ (co-sponsor) ข้อมติเกี่ยวกับปฏิญญาดังกล่าว
            nized Human Rights and Fundamental Freedoms)        จึงแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยเห็นถึงความส�าคัญของ
            ได้ให้ค�าจ�ากัดความของนักปกป้องสิทธิมนุษยชนว่าหมายถึง    นักปกป้องสิทธิมนุษยชนและมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมและ
            บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่ส่งเสริมและต่อสู้เพื่อให้เกิดการ  คุ้มครองสิทธิของบุคคลกลุ่มนี้ตามที่ปรากฏในปฏิญญาฯ

            คุ้มครองและตระหนักถึงสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพ         ดังนั้น รัฐบาลไทยจึงมีพันธกรณีด้านจริยธรรมที่จะเคารพ
            ขั้นพื้นฐานทั้งในระดับประเทศและระหว่างประเทศ        หลักการที่ปรากฏในปฏิญญาฯ ๒๖๘                        การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
                                                         ๒๖๖




























            ๒๖๖  ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรของสังคมในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นที่ยอมรับ
            อย่างสากล ข้อ ๑.
            ๒๖๗  ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กรของสังคมในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นที่ยอมรับ
            อย่างสากล ข้อ ๒.
            ๒๖๘  จาก แนวทางปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เอกสารล�าดับที่ ๒ ผู้พิทักษ์สิทธิมนุษยชน ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิและความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคล
            กลุ่มบุคคล และองค์กรของสังคมในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างสากล (น.๓), โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
            แห่งชาติ, ๒๕๔๖, กรุงเทพฯ: ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. ลิขสิทธิ์ ๒๕๔๖ โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ.


                                                                                                              141
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147