Page 138 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 138
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
สัญชาติเพิ่มมากขึ้น ท�าให้การท�างานของภาครัฐ ในประเด็นปัญหาที่อยู่อาศัยและที่ดินท�ากินของกลุ่มคน
ใช้เวลานาน บางกรณีการด�าเนินการขอสัญชาติใช้เวลา ไร้สัญชาติ ซึ่งเกี่ยวกับการที่รัฐมีการประกาศให้พื้นที่ป่า
ประมาณ ๕-๑๐ ปีจึงจะเสร็จสิ้น และยังมีผู้มีปัญหาสถานะ ที่กลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งไร้สัญชาติตั้งถิ่นฐานอาศัยอยู่เป็นเขต
อีกจ�านวนมากที่ยังรอการด�าเนินการจากทางภาครัฐ อุทยานหรือเขตอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ป่า ท�าให้คนกลุ่มนี้
๒๕๐
นอกจากนี้ ยังพบปัญหาที่เกี่ยวกับค่าใช้จ่าย อาทิ ค่าใช้จ่าย เป็นผู้บุกรุกป่าและเกิดความขัดแย้งกับภาครัฐ เช่น กรณี
ในการเดินทาง ค่าด�าเนินการ เนื่องจากประชาชนกลุ่มนี้ ชาวกะเหรี่ยงที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า “บ้านบาง
โดยส่วนใหญ่ยากจนและอาศัยอยู่ในพื้นที่ห่างไกลจาก กลอยและบ้านใจแผ่นดิน” ในพื้นที่เขตอุทยานแก่งกระจาน
อ�าเภอหรือส�านักทะเบียนราษฎร และปัญหาผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นชุมชนดั้งเดิมของชาวกะเหรี่ยง ถูกเจ้าหน้าที่รัฐใช้ก�าลัง
๒๕๑
กลุ่มชาติพันธุ์ที่ตกส�ารวจการจัดท�าทะเบียนบุคคลของ รื้อเผาท�าลายทรัพย์สินและย้ายชุมชนกะเหรี่ยงไปยังพื้นที่
หน่วยงานรัฐ เช่น ผู้หญิงสูงวัยกลุ่มอาข่าในพื้นที่ดอยแม่สลอง ใหม่เมื่อปี ๒๕๕๔ เหตุการณ์ดังกล่าวท�าให้ชาวกะเหรี่ยง
จ.เชียงราย เนื่องจากธรรมเนียมของเผ่าในอดีตไม่นิยมให้ ที่ได้รับผลกระทบจ�านวน ๖ รายยื่นฟ้องกรมอุทยานแห่งชาติ
ผู้หญิงออกบ้าน ท�าให้ผู้หญิงอาข่าไม่ได้รับการสนับสนุน สัตว์ป่า และพันธุ์พืชต่อศาลปกครองขอให้หน่วยงานรัฐ
ให้ยื่นเรื่องขอสถานะบุคคลกับทางการไทยในขณะที่กลุ่ม ชดใช้ค่าเสียหายที่เกิดจากการท�าลายทรัพย์สินและขอ
ประชากรชาวอาข่าที่มีอายุตั้งแต่ ๓๐ ปีลงไปจะได้รับ กลับไปอยู่ในพื้นที่เดิม ศาลปกครองได้พิจารณาคดีมาตั้งแต่
การรับรองสถานะบุคคลโดยทางการไทยแล้ว ปี ๒๕๕๕ จนกระทั่งเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๑
๒๕๒
ศาลปกครองสูงสุดได้มีค�าพิพากษาให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า บทที่ ๔
กรณีเด็กและบุคคลที่เรียนอยู่ในสถานศึกษาของ และพันธุ์พืชชดใช้ค่าเสียหายต่อผู้ฟ้องร้องเนื่องจากเห็นว่า
ประเทศไทยแต่ไม่มีหลักฐานทางทะเบียนราษฎรหรือไม่มี การกระท�าของเจ้าหน้าที่เป็นการใช้อ�านาจเกินความจ�าเป็น
สัญชาติไทย และทางสถานศึกษาได้ก�าหนดรหัสประจ�าตัว และไม่สมควรแก่เหตุ รวมทั้งไม่เป็นไปตามขั้นตอนที่ก�าหนด
ผู้เรียนที่ขึ้นต้นด้วย G และ P กระทรวงมหาดไทยได้ ในพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๐๔ จึงเป็น
๒๕๓
ร่วมมือกับกระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การกระท�าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายและให้มีการชดใช้ค่าเสียหาย
จัดการแก้ไขภาวะไร้รัฐ/ไร้สัญชาติของเด็กและให้สถานะ ต่อทรัพย์สินแก่ผู้ฟ้องคดีทั้งหก แต่ส�าหรับอุทธรณ์การขอให้
ที่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยปัจจุบันมีการจัดตั้งคณะท�างาน ไปอยู่ในพื้นที่เดิมนั้น เนื่องจากที่ดินพิพาทอยู่ในเขตอุทยาน
เพื่อตรวจสอบข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสถานะของเด็กนักเรียน แห่งชาติแก่งกระจานและผู้ฟ้องคดีทั้งหกไม่มีหนังสือส�าคัญ
ไร้สัญชาติในระดับจังหวัดเพื่อพิจารณาและจัดระบบ แสดงสิทธิในที่ดินหรือหลักฐานแสดงการได้รับอนุญาต การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
การก�าหนดสถานะของเด็กนักเรียนกลุ่มดังกล่าว หากพบว่า จากทางราชการให้ครอบครองท�าประโยชน์ในที่ดินพิพาท
มีกรณีที่ไม่เคยมีเลขประจ�าตัวมาก่อน ไม่มีภูมิล�าเนา โดยชอบด้วยกฎหมาย ศาลจึงไม่อาจก�าหนดค�าบังคับ
อยู่ต่างประเทศ หรือเดินทางไป-กลับชายแดน จะมีการจัดท�า ให้ผู้ฟ้องคดีทั้งหกกลับคืนสู่สภาพเดิมได้
๒๕๖
ประวัติและเลขประจ�าตัว ๑๓ หลัก เด็กกลุ่มนี้มีจ�านวน
๒๕๔
ประมาณ ๗๘,๐๐๐ คน ๒๕๕
๒๕๐ จาก ชาวบ้านนับพันสุดทน บุกอ�าเภอร้องถูกจ�าหน่ายรายการทะเบียนราษฎรนาน ๑๐ ปี ร้องเรียนสารพัดแต่ไม่คืบ, โดย ส�านักข่าวชายขอบ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก
http://transbordernews.in.th/home/?p=19156
๒๕๑ จาก การเข้าถึงสิทธิในสัญชาติในประเทศไทย บทวิเคราะห์ปัญหาทางปฏิบัติ และข้อเสนอแนะ. เล่มเดิม (น. ๓๘)
๒๕๒ จาก “อย่าทอดทิ้งประชากรกลุ่มเปราะบางไว้ข้างหลัง” เสียงจากเวทีวันผู้เฒ่าไร้สัญชาติ, โดย บริษัท วอยซ์ทีวี จ�ากัด, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://voicetv.co.th/read/B1izWLD4M.
๒๕๓ รหัสที่ขึ้นต้นด้วย G ใช้กับนักเรียนในสถานศึกษาที่สังกัดส�านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่วนรหัสที่ขึ้นต้นด้วย P ใช้กับนักเรียนในสถานศึกษาที่สังกัดส�านักงาน
คณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน.
๒๕๔ จาก หนังสือกระทรวงมหาดไทย ด่วนที่สุด ที่ มท ๐๒๑๑.๔/๐๘๘๒๙ ลงวันที่ ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ เรื่อง รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย
๒๕๕ ประจ�าปี ๒๕๖๐ และรายงานผลการปฏิบัติงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐.
๒๕๖ จาก ข่าวประชาสัมพันธ์ ศาลปกครองสูงสุดมีค�าพิพากษาในคดีที่นายโคอิ หรือคออี้ มีมิ กับพวกรวม ๖ คน ฟ้องขอให้ชดใช้ค่าเสียหายจากกรณีพนักงานเจ้าหน้าที่รื้อถอนเผาท�าลาย
สิ่งปลูกสร้าง และทรัพย์สินซึ่งอยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน, โดย ศาลปกครอง, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.admincourt.go.th/site/08hotsuit_detail.php?ids=16937
137