Page 143 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 143

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ๑. เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับนักปกป้องสิทธิมนุษยชน     กฤษฎีกา คณะรัฐมนตรี และคณะกรรมาธิการวิสามัญ
          ที่ผ่านมา นักปกป้องสิทธิมนุษยชนได้ถูกคุกคามในหลายรูปแบบ    กิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ซึ่งคณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้น
          เช่น  การถูกบังคับให้สูญหาย  การเข้าตรวจค้นบ้าน     ในชั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
          โดยไม่มีหมายค้นแต่ใช้อ�านาจตามพระราชบัญญัติกฎอัยการศึก   เพื่อพิจารณาและศึกษาร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว

          พระพุทธศักราช ๒๔๕๗  การด�าเนินคดีเชิงยุทธศาสตร์     มีข้อสังเกตบางประการ  กระทรวงยุติธรรมจึงได้น�า
                              ๒๖๙
          เพื่อระงับการมีส่วนร่วมของสาธารณชน (strategic       ร่างพระราชบัญญัติฯ มาปรับปรุง  รวมทั้งได้ด�าเนินการ
                                                                                         ๒๗๐
          litigation against public participation: SLAPP) เป็นต้น   รับฟังความเห็นตามมาตรา  ๗๗  ของรัฐธรรมนูญ
          เพื่อยับยั้งหรือข่มขู่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น    แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และได้แจ้งผลการรับฟัง

          อันเป็นการกดดันให้บุคคลที่ถูกด�าเนินคดีจ�าต้องระงับ  ความเห็นไปยังสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ต่อมา เมื่อวันที่
          การแสดงความคิดเห็น และในระยะหลังผู้หญิงนักปกป้อง    ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
          สิทธิมนุษยชนได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้นโดยเฉพาะในเรื่อง  ได้พิจารณาลงมติรับหลักการร่างพระราชบัญญัติฯ และให้
          ของที่ดิน ป่าไม้ ซึ่งท�าให้ผู้หญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน   ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นพิจารณาต่อไป  นอกจากนี้
                                                                                                 ๒๗๑
          ถูกฟ้องร้องและด�าเนินคดีเพิ่มมากขึ้น                เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๑ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ
                                                              ยังได้ผ่านร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวล
                                                                                                          ๒๗๒
          ๒. การออกกฎหมาย                                     กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ...) พ.ศ. ....
          กระทรวงยุติธรรม โดยกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ       ซึ่งจะช่วยคุ้มครองนักปกป้องสิทธิมนุษยชนโดยให้ศาล

          ได้ด�าเนินการยกร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปราม  สามารถยกฟ้องคดีที่เป็นการใช้สิทธิโดยไม่สุจริตหรือฟ้อง
          การทรมานและการกระท�าให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. .... และ    เพื่อกลั่นแกล้งหรือเอาเปรียบจ�าเลยโดยมุ่งหวังผลอย่างอื่น
          ได้ผ่านความเห็นชอบตามล�าดับตั้งแต่ชั้นคณะกรรมการ    มากกว่าประโยชน์ที่พึงได้โดยชอบ





































          ๒๖๙  จาก ประชาคมสังคมใต้ร่อนแถลงการณ์ จี้สอบ จนท. อ้าง กม.พิเศษ คุกคามหญิงนักปกป้องสิทธิมนุษยชน, โดย มติชน, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/
          politics/news_1012804
          ๒๗๐  จาก ยุติธรรมแจงร่าง พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับบุคคลให้สูญหายฯ ไม่ถูกกลบฝังไว้อย่างไม่มีก�าหนดแน่นอน, โดย กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๖๑.
          สืบค้นจาก https://www.moj.go.th/view/15438
          ๒๗๑  จาก หนังสือส�านักงานเลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่ส�านักงานเลขาธิการ สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ที่ สว (สนช) ๐๐๐๗/๗๐๖๐ ลงวันที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๑ เรื่อง
          ส่งประกาศและส�าเนาประกาศสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
          ๒๗๒  จาก เอกฉันท์! สนช. ผ่าน กม.วาระสาม ตัดสิทธิคนหนีคดีฟ้องศาล เตรียมประกาศบังคับใช้, สืบค้นจาก https://www.matichon.co.th/politics/news_1257188
      142
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148