Page 136 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 136

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ข้อเสนอแนะ                                          เพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
            ๑. รัฐควรส่งเสริมให้องค์กรคนพิการมีความพร้อมในการ   คนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖
            เป็นศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ทั้งด้านพัฒนาบุคลากร และ
            การจัดบริการให้แก่คนพิการ                           ๔. รัฐควรให้ความส�าคัญกับการจัดให้มีสิ่งอ�านวยสะดวก

                                                                อันเป็นสาธารณะส�าหรับคนพิการ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
            ๒. รัฐควรจัดสรรงบประมาณให้กับสถานศึกษาที่จัดการ     การจัดบริการในระบบขนส่งสาธารณะที่คนพิการเข้าถึง
            ศึกษาส�าหรับคนพิการเพื่อสนับสนุนการจัดอุปกรณ์       และใช้ประโยชน์ได้ โดยให้ครอบคลุมถึงพื้นที่ในชนบทซึ่งมี
            สิ่งอ�านวยความสะดวกและบุคลากรที่มีความรู้และทักษะ   คนพิการอาศัยอยู่เป็นจ�านวนมาก เพื่อส่งเสริมให้คนพิการ

            ในการสอนคนพิการประเภทต่าง ๆ อย่างเพียงพอ ทั้งการ    ด�ารงชีวิตโดยเป็นส่วนหนึ่งของสังคมได้ตามหลักการ
            ศึกษาสายสามัญและสายอาชีพ เพื่อให้คนพิการเข้าถึง     ของอนุสัญญา CRPD
            การศึกษาและโอกาสในการมีงานท�ามากขึ้น
                                                                ๕. รัฐควรสร้างความตระหนักรู้เรื่องสิทธิของคนพิการให้แก่

            ๓.  รัฐโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเร่งด�าเนินการ    คนพิการ ครอบครัว ผู้ประกอบการ/นายจ้าง รวมถึงชุมชน
            ออกระเบียบการช่วยเหลือคนพิการซึ่งไม่มีสถานะทางทะเบียน  และสังคม เพื่อส่งเสริมทัศนคติเชิงบวกและการปฏิบัติต่อ
            ราษฎรตามความในมาตรา ๑๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติ          คนพิการที่เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
                                                                                                                    บทที่ ๔
            ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ แก้ไข


            ๔.๔ สิทธิของผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิ


            ภาพรวม

            กลุ่มผู้มีปัญหาสถานะและสิทธิในประเทศไทยอาจแบ่งออก   การท�างานของแรงงานต่างด้าว พ.ศ. ๒๕๖๐ เพื่อปรับปรุง
            ได้เป็น ๓ กลุ่มใหญ่ ๆ คือ แรงงานข้ามชาติ บุคคลไร้รัฐ/   ระบบการเข้ามาท�างานของคนต่างด้าวในภาพรวม
            ไร้สัญชาติ และผู้แสวงหาที่พักพิง/ผู้ลี้ภัย ซึ่งในปี ๒๕๖๑    จากความพยายามแก้ไขปัญหาของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ท�าให้
            มีสถานการณ์ที่เกี่ยวกับแต่ละกลุ่ม ดังนี้            มีแรงงานข้ามชาติที่ได้รับการจดทะเบียนและได้รับอนุญาต

                                                                ท�างานอย่างถูกต้องแล้วประมาณ ๑.๕ ล้านคน อย่างไร
            กลุ่มที่ ๑ แรงงานข้ามชาติ  เป็นแรงงานต่างด้าว       ก็ตาม แม้ว่ารัฐบาลจะได้ผ่อนผันการบังคับใช้กฎหมาย    การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
                                     ๒๔๓
            ๓ สัญชาติ (เมียนมา ลาว และกัมพูชา) ที่เข้ามาท�างาน  เพื่อให้แรงงานข้ามชาติที่ท�างานโดยไม่ถูกกฎหมายอยู่ก่อนวันที่
            ในประเทศไทยโดยไม่ถูกต้องและไม่มีเอกสารแสดงตน        พระราชก�าหนดฯ มีผลใช้บังคับได้ด�าเนินการดังกล่าว
                                                                                                            ๒๔๔
            ท�าให้ตกอยู่ในภาวะไร้รัฐชั่วคราว รัฐบาลมีนโยบายที่จะ   แต่จนถึงสิ้นปี ๒๕๖๐ ยังคงมีแรงงานอีกเกือบ ๒ ล้านคน
            จัดระเบียบแรงงานข้ามชาติเพื่อให้การเข้ามาท�างาน     ที่ยังไม่เข้าสู่ระบบกฎหมาย
                                                                                      ๒๔๕
            เป็นไปอย่างถูกต้องและแรงงานได้รับการคุ้มครองสิทธิต่าง ๆ
            โดยการจัดให้มีการจดทะเบียนเพื่อท�าประวัติ การร่วมมือ  ในปี ๒๕๖๑ รัฐบาลได้มีความพยายามแก้ไขปัญหาแรงงาน

            กับประเทศต้นทางในการพิสูจน์สัญชาติเพื่อออกเอกสาร    ข้ามชาติ  ๓  สัญชาติที่เข้ามาท�างานในประเทศไทย
            แสดงตน รวมถึงการขออนุญาตท�างานตามกฎหมาย และ         อย่างไม่ถูกต้องต่อเนื่องจากปีก่อนเพื่อให้การน�าแรงงานต่างด้าว
            ในปี ๒๕๖๐ ได้มีการออกพระราชก�าหนดการบริหารจัดการ    เข้ามาท�างานในประเทศไทยเป็นไปอย่างถูกต้องตามกฎหมาย



            ๒๔๓  ในส่วนของแรงงานข้ามชาติที่เป็นประเด็นด้านสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ได้น�าเสนอรายละเอียดในบทที่ ๔ ภายใต้หัวข้อ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”.
            ๒๔๔  จาก ค�าสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๓๓/๒๕๖๐ เรื่อง มาตรการชั่วคราวเพื่อแก้ไขข้อขัดข้องในการบริหารจัดการการท�างานของคนต่างด้าว. (๒๕๖๐, ๔
            กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา, ๑๓๔ (ตอนพิเศษ ๑๗๖ง). ๒๑ – ๒๒.
            ๒๔๕  จาก แนวทางในการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๑, โดย กระทรวงแรงงาน, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก https://www.doe.go.th/
            prd/assets/upload/files/alien_th/f45ff7d848ca050d0029a94317d5a0f1.pdf

                                                                                                              135
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141