Page 133 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 133

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          สิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการ รัฐโดยหน่วยงานที่  พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม
          เกี่ยวข้องได้จัดท�าแผนปฏิบัติการของยุทธศาสตร์การพัฒนา  โดยพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
          สิ่งอ�านวยความสะดวกในภาคขนส่งส�าหรับคนพิการและ      คนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ ทั้งนี้ กรมส่งเสริมและ
          ผู้สูงอายุเพื่อใช้เป็นกรอบการด�าเนินงานของทุกภาคส่วน   พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการชี้แจงว่า ระเบียบว่าด้วย

          โดยสอดคล้องกับแผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ    การออกบัตรประจ�าตัวคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ไม่ได้ก�าหนด
          ฉบับที่ ๕ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ สร้างสภาพแวดล้อมและบริการ  เงื่อนไขการออกบัตรประจ�าตัวคนพิการซึ่งไม่มีสถานะทาง
          สาธารณะที่ทุกคนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ เพื่อให้การ   ทะเบียนเอาไว้ แต่กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต
          ขับเคลื่อนแผนดังกล่าวเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม    คนพิการได้พิจารณาแนวทางในการให้ความช่วยเหลือบุคคล

          เมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ กลุ่มคนพิการได้ยื่นฟ้อง  กลุ่มนี้ให้ได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการที่เหมาะสม
          กรณีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ละเลย     จากรัฐ โดยก�าหนดไว้ในร่างระเบียบการช่วยเหลือที่ออก
          การปฏิบัติหน้าที่ ไม่อ�านวยความสะดวกส�าหรับคนพิการ   ตามความในมาตรา ๑๙/๑ ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณา
          ในระบบรถไฟฟ้าสายสีม่วงต่อศาลปกครอง โดยการรถไฟฟ้า    ของคณะอนุกรรมการด้านกฎหมาย
                                                                                           ๒๓๘
          ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ชี้แจงข้อเท็จจริงว่า
          รฟม. ได้ด�าเนินการจัดให้มีสิ่งอ�านวยความสะดวกส�าหรับ  การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค
          คนพิการในพื้นที่ความรับผิดชอบของโครงการรถไฟฟ้า      การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเพื่อให้มี
          ทุกสาย ในการก�ากับของ รฟม. โดยใช้มาตรฐานที่ได้รับ   คุณภาพชีวิตที่ดี สามารถด�ารงชีวิตได้อย่างอิสระในสังคม

          การยอมรับในสากล ตลอดจนกฎหมายและระเบียบต่าง ๆ        อย่างมีศักดิ์ศรีนั้น พบว่าปัญหาอุปสรรคที่ส�าคัญประการหนึ่ง
          ที่เกี่ยวข้อง                                       คือ สังคม ชุมชน บุคลากรเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริม
                                                              พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ รวมถึงคนพิการและครอบครัว
          นโยบายและแนวทางการส่งเสริมพัฒนาคุณภาพชีวิต          คนพิการเองยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องสิทธิของ

          คนพิการที่ไม่มีสัญชาติไทย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน    คนพิการ โดยสังคมส่วนใหญ่ยังมองคนพิการในเชิงสงเคราะห์
          แห่งชาติได้มีหนังสือถึงกระทรวงการพัฒนาสังคมและ      เห็นใจหรือสงสารมากกว่าการมองคนพิการบนฐานสิทธิ
          ความมั่นคงของมนุษย์ กรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต  ซึ่งจากปัญหาดังกล่าวน�าไปสู่ปัญหา อุปสรรค ในการด�ารง
          คนพิการ และคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพ         ชีวิตและการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ ของคนพิการ รวมถึงการปฏิบัติ

          ชีวิตคนพิการแห่งชาติ เพื่อให้เร่งรัดการออกระเบียบ   ต่อคนพิการของสังคม ตลอดจนการฟื้นฟู ส่งเสริม พัฒนา
          การช่วยเหลือคนพิการซึ่งไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร    ศักยภาพและคุณภาพชีวิตคนพิการให้บรรลุผล
          ตามความในมาตรา ๑๙/๑ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
























          ๒๓๘  จาก ข่าวแจก กสม. เสนอกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ เร่งรัดออกระเบียบช่วยเหลือ “คนพิการไร้รัฐ – ไร้รัฐไร้สัญชาติ” โดยเร็ว, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
          แห่งชาติ, ๒๕๖๐. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Statements-Press-Releases-Open-Letters/Press-Releases/กสม-เสนอกระทรวงพัฒนาสังคมฯ-
          เร่งรัดออกระเบียบช่วยเห.aspx


      132
   128   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138