Page 132 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 132
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
รัฐมีการด�าเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ส�าหรับคนพิการ ระบบประกันสุขภาพภาครัฐส�าหรับคนพิการ รัฐได้ให้
ในลักษณะเชิงรุก โดยครูจะเดินทางไปจัดการศึกษาให้ ความส�าคัญปัญหาความเหลื่อมล�้าของระบบประกันสุขภาพ
คนพิการเป็นรายบุคคล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่บ้าน ภาครัฐของคนพิการ จึงเห็นสมควรปฏิรูประบบการช่วยเหลือ
ของผู้เรียน ซึ่งเป็นวิธีการที่เหมาะสมส�าหรับคนพิการที่ศึกษา คนพิการในเรื่องดังกล่าว โดยหัวหน้าคณะรักษา
ในรูปแบบ กศน. ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคนพิการที่อยู่ในชนบทและ ความสงบแห่งชาติได้มีค�าสั่งที่ ๔๕/๒๕๖๐ แก้ไขเพิ่มเติมค�าสั่ง
ไม่สะดวกในการเดินทางไปรับบริการในสถานศึกษา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๕๘/๒๕๕๙ จากเดิม
โดยครูผู้สอนจะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับคนพิการควบคู่ไป ซึ่งก�าหนดให้คนพิการที่เข้าระบบการจ้างงานต้องใช้
กับผู้ดูแลคนพิการหรือผู้ปกครอง เพื่อให้ผู้ดูแลคนพิการ สิทธิประกันสังคม เป็นให้สามารถเลือกได้ว่าจะใช้ระบบ
หรือผู้ปกครองดูแลคนพิการต่อจากครูเมื่อสิ้นสุดการจัด ประกันสังคมหรือระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้าเพื่อ
กิจกรรมการเรียนรู้ รวมถึงการจัดการศึกษาแบบพบกลุ่ม ตอบโจทย์ความต้องการและเป็นประโยชน์ต่อคนพิการ
เฉพาะคนพิการโดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้เฉพาะคนพิการ มากที่สุด เนื่องจากก่อนหน้านี้คนพิการที่เข้าสู่ระบบการจ้างงาน
กลุ่มเล็ก ๆ ตามบ้านหรือชุมชน นอกจากนี้ รัฐยังให้ ต้องใช้สิทธิด้านสุขภาพผ่านระบบประกันสังคม โดยระบบ
ความส�าคัญในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับ ประกันสุขภาพถ้วนหน้าซึ่งคนพิการใช้สิทธิด้านสุขภาพ
การจัดการศึกษาส�าหรับคนพิการ อยู่ก่อนเข้าสู่ระบบการจ้างงานนั้นให้สิทธิครอบคลุมอุปกรณ์
ส�าหรับช่วยเหลือคนพิการที่หลากหลายประเภทกว่า
การจ้างงานคนพิการ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนา การแก้ไขค�าสั่งดังกล่าวท�าให้คนพิการที่เป็นผู้ประกันตน บทที่ ๔
คุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม ตามกฎหมายว่าด้วยการประกันสังคมได้รับบริการสาธารณสุข
มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ และมาตรา ๓๕ ก�าหนดหลักเกณฑ์ ที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพตามที่ก�าหนดไว้ในกฎหมาย
เงื่อนไขในการจ้างงานคนพิการ โดยในปี ๒๕๖๑ กระทรวง ว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติด้วย ส�าหรับคนพิการ
แรงงานร่วมกับ Workability Thailand ซึ่งเป็นองค์กรที่ ที่ไม่ได้รับการจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและ
ด�าเนินงานความร่วมมือขับเคลื่อนนโยบายสู่ระดับปฏิบัติ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ร่วมกับภาคีเครือข่ายในประเทศและในภูมิภาคเอเชีย ได้จัด (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ มีสิทธิได้รับบริการในระบบ
ท�าโครงการส�ารวจสถานการณ์และทิศทางการปรับกลยุทธ์ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า โดยจะต้องลงทะเบียนสิทธิ
การจ้างงานคนพิการในปี ๒๕๖๑ เป็นปีแรก เพื่อเข้าถึง ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งระบุสิทธิประเภท
และเข้าใจความต้องการของคนพิการอย่างแท้จริง รวมถึง คนพิการ (ท.๗๔) ในระบบฐานข้อมูลของส�านักงาน การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
ปัญหาอุปสรรค ซึ่งจะเป็นข้อมูลส�าคัญแก่ภาครัฐในการ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรียบร้อยแล้ว
ก�าหนดนโยบายที่เหมาะสมต่อไป ทั้งนี้ กระทรวงแรงงาน
ได้ด�าเนินโครงการศึกษาและเตรียมความพร้อมในการจัดตั้ง
กลไกการแนะแนวและพัฒนาศักยภาพการท�างานของ
คนพิการในประเทศไทย (Job Coach Thailand Center)
เพื่อสนับสนุนการมีงานท�าของคนพิการทั้งในระดับนโยบาย
และระดับปฏิบัติ และส่งเสริมความร่วมมือระหว่าง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง นอกจากนี้ ในปี ๒๕๖๑ หน่วยงานรัฐได้
เล็งเห็นถึงความส�าคัญในการส่งเสริมการจ้างงานคนพิการ
โดยเร่งรัดให้หน่วยงานในสังกัดรับคนพิการเข้าท�างาน
เพื่อสร้างโอกาสให้คนพิการได้รับการจ้างงานอย่างกว้างขวาง
เพื่อให้คนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
131