Page 130 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 130

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            ข้อเสนอแนะ                                          เต็มเวลา ๘ ชั่วโมงต่อวัน หรืออาจเป็นการรับงานไปท�า
            ๑. รัฐควรรณรงค์ให้ประชาชนเห็นความส�าคัญของการออม    เป็นชิ้นงานเพื่อคุ้มครองสิทธิด้านการท�างานของผู้สูงอายุ รวมทั้ง
            โดยเฉพาะกลุ่มแรงงานนอกระบบรวมถึงการพิจารณา          ควรพิจารณาปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับประกันสังคมและ
            ระบบการออมภาคบังคับเพื่อให้ประชาชนทุกคนมีบ�าเหน็จ   กองทุนการออมต่าง ๆ ให้รองรับการท�างานของผู้สูงอายุด้วย

            บ�านาญหลังพ้นวัยเกษียณตามแผนปฏิรูปประเทศด้าน
            ที่เกี่ยวข้อง และมีหลักประกันรายได้ที่เพียงพอในการด�ารง  ๓. รัฐควรด�าเนินการเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับสิทธิในด้านอื่นๆ ตาม
            ชีวิตอย่างมีคุณภาพเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ อย่างไรก็ดี เนื่องจาก  ที่ระบุในพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที่แก้ไข
            ประเทศไทยจะมีผู้สูงอายุมากขึ้นอย่างรวดเร็วโดยมี     เพิ่มเติมอย่างทั่วถึง อาทิ บริการด้านสาธารณสุข การฝึก/

            การคาดการณ์ว่าประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์   ประกอบอาชีพที่เหมาะสม การได้รับความคุ้มครองจาก
            ในปี ๒๕๖๔  หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรให้ความส�าคัญ  การกระท�าทารุณกรรม การแสวงประโยชน์ หรือการถูกทอดทิ้ง
                      ๒๓๖
            และเร่งรัดการด�าเนินการด้านนี้ให้เกิดผลโดยเร็ว      และการได้รับเงินเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือน ทั้งนี้ โดยให้
                                                                ความส�าคัญกับผู้สูงอายุที่มีอุปสรรคในการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ

            ๒. ในการส่งเสริมการท�างานของผู้สูงอายุ รัฐควรพิจารณา  หรือมีความเสี่ยงที่จะถูกละเมิดสิทธิ เช่น ผู้สูงอายุที่อยู่ใน
            ปรับปรุงกฎหมายคุ้มครองแรงงานเพื่อให้สอดคล้องกับ     พื้นที่ห่างไกล ผู้สูงอายุที่อยู่ล�าพัง และผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะ
            ลักษณะการท�างานของผู้สูงอายุที่อาจไม่ใช่การท�างาน   พึ่งพิง เป็นต้น
                                                                                                                    บทที่ ๔

            ๔.๓ สิทธิคนพิการ


            ภาพรวม
            กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์          บริการสาธารณะที่ทุกคนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ ตลอดจน

            โดยกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเป็นหน่วยงาน   ส่งเสริมการบูรณาการเครือข่ายที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่
            รับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อน ส่งเสริม ฟื้นฟู และพัฒนา  เพื่อมุ่งประโยชน์ส�าหรับคนพิการอย่างแท้จริง
            ศักยภาพให้แก่คนพิการ ตลอดจนสร้างความตระหนักรู้
            ด้านสิทธิคนพิการให้แก่คนพิการ ครอบครัว ชุมชน และสังคม   นอกจากนี้ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

            อย่างต่อเนื่อง โดยคนพิการเป็นกลุ่มเป้าหมายที่รัฐให้   คนพิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๖ มาตรา ๒๐/๓ ก�าหนด   การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
            ความส�าคัญในการเสริมสร้างพัฒนาศักยภาพ เสริมสร้าง    ให้มีการจัดตั้งศูนย์บริการคนพิการเพื่อประโยชน์ในการส่งเสริม
            องค์ความรู้ รวมถึงสร้างความเท่าเทียม ลดความเหลื่อมล�้า   พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม
            โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เพื่อให้คนพิการสามารถด�ารง   โดยระเบียบคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต

            ชีวิตในสังคมได้อย่างอิสระ และมีความภาคภูมิใจในตนเอง   คนพิการแห่งชาติว่าด้วยหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข
            เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการมีเป้าหมาย        เกี่ยวกับศูนย์บริการคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ก�าหนดประเภท
            การด�าเนินงานที่ชัดเจน รัฐโดยหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้จัดท�า   ศูนย์บริการคนพิการไว้ ๒ ประเภท ดังนี้
            แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ ๕

            (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) เพื่อเสริมพลังคนพิการและองค์กร   ศูนย์บริการคนพิการทั่วไป ได้แก่ ศูนย์บริการคนพิการที่จัดตั้ง
            คนพิการให้มีศักยภาพ ขจัดการเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ    โดยองค์กรด้านคนพิการหรือองค์กรอื่นใดที่ให้บริการแก่
            เสริมสร้างความเข้าใจเชิงสร้างสรรค์ และความตระหนักรู้ต่อสิทธิ   คนพิการซึ่งได้รับการรับรองมาตรฐานจากคณะกรรมการ
            ของคนพิการ รวมถึงขับเคลื่อนการสร้างสภาพแวดล้อมและ   ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ รวมถึง



            ๒๓๖  จาก แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔), โดย ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๙, กรุงเทพ:
            ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. ลิขสิทธิ์ ๒๕๖๑ โดย ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. สืบค้นจาก www.nesdb.
            go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422


                                                                                                              129
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135