Page 129 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 129
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
มีหลักประกันว่าจะมีรายได้เพียงพอต่อการด�ารงชีวิตอย่างมี การออมแห่งชาติได้ แต่การออมดังกล่าวเป็นไปตาม
คุณภาพทั้งการส่งเสริมการออมและการส่งเสริมการท�างาน ความสมัครใจ ดังนั้นผู้ที่ไม่ได้ออมกับกองทุนใดเลยจึงเป็นกลุ่ม
ของผู้สูงอายุตามแผนปฏิรูปประเทศจึงเป็นประเด็นส�าคัญ ที่มีแนวโน้มจะมีปัญหาด้านรายได้เมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ
ที่ควรมีการด�าเนินการอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อค�านึงว่าแรงงานกลุ่มนี้ส่วนใหญ่
มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
การด�าเนินการของรัฐเพื่อสร้างหลักประกันดังกล่าวในปี และกว่าครึ่งหนึ่งท�างานในภาคเกษตรกรรม ๒๓๓
๒๕๖๑ เป็นการด�าเนินการต่อเนื่องจากปี ๒๕๖๐ ที่รัฐได้
ออกมาตรการส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน ส�าหรับสถานการณ์ด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ โดยทั่วไป
ทั้งมาตรการทางภาษีที่ให้ผู้ประกอบการเอกชนที่จ้างงาน ผู้สูงอายุสามารถเข้าถึงบริการด้านสุขภาพได้โดยใช้สิทธิ
ผู้สูงอายุสามารถน�าค่าใช้จ่ายจากการจ้างงานผู้สูงอายุ ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ระบบประกันสังคม
ที่ไม่เกินรายละ ๑๕,๐๐๐ บาทต่อเดือนไปหักภาษีได้ หรือระบบสวัสดิการข้าราชการ ส่วนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
โดยจ�านวนผู้สูงอายุที่จ้างต้องไม่เกินร้อยละ ๑๐ ของลูกจ้าง ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติได้ร่วมกับองค์กร
ทั้งหมด และการก�าหนดอายุเกษียณส�าหรับการจ้างงาน ปกครองส่วนท้องถิ่นจัดบริการให้การดูแลฟื้นฟูในระดับ
ในภาคเอกชนที่ ๖๐ ปี หากนายจ้างและลูกจ้างมิได้ตกลง ชุมชนผ่านกองทุนสุขภาพในระดับพื้นที่เพื่อให้ผู้สูงอายุ
เป็นอย่างอื่นตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๖) กลุ่มนี้ได้รับบริการอย่างทั่วถึงมากขึ้น แต่บริการนี้จ�ากัด
๒๓๔
พ.ศ. ๒๕๖๐ ซึ่งยังต้องมีการประมวลและติดตามผล เฉพาะผู้ที่ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพเท่านั้น
ของการด�าเนินการตามมาตรการดังกล่าว ส่วนการท�างาน
ในภาครัฐ ในปี ๒๕๖๑ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้มีการด�าเนินการ กรณีผู้สูงอายุถูกทอดทิ้งยังไม่พบการเก็บสถิติข้อมูลว่า
เพื่อขยายอายุเกษียณของข้าราชการตามที่ก�าหนดใน มีจ�านวนมากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ดี รัฐมีการให้ความช่วยเหลือ
แผนการปฏิรูปประเทศ ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการแก้ไขกฎหมาย ตามความจ�าเป็นในแต่ละสถานการณ์เป็นกรณีไป
ที่เกี่ยวข้องและยังอยู่ระหว่างด�าเนินการ ในขณะเดียวกัน รวมทั้งสามารถให้ความช่วยเหลือเป็นเงินหรือสิ่งของในวงเงิน
รัฐมีนโยบายที่จะช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีรายได้น้อยที่ลง ที่ก�าหนดในระเบียบของกระทรวงการพัฒนาสังคม
ทะเบียนขอรับบัตรสวัสดิการแห่งรัฐนอกเหนือจากการจ่าย และความมั่นคงของมนุษย์ที่เกี่ยวข้อง ๒๒๕
เบี้ยยังชีพที่เป็นสวัสดิการพื้นฐานส�าหรับผู้สูงอายุทุกคนที่
ไม่ได้รับสวัสดิการอื่นจากรัฐ อย่างไรก็ดี นโยบายนี้ต้องใช้
งบประมาณค่อนข้างมาก จึงอาจมีปัญหาเรื่องความยั่งยืน
ด้านการเงินในระยะยาว รัฐจึงควรส่งเสริมการออมเพื่อเตรียม
ความพร้อมของประชากรก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ
ในด้านการออมนั้น ประชากรกลุ่มที่ยังไม่มีระบบการออม
ภาคบังคับคือแรงงานนอกระบบ ซึ่งจากการส�ารวจของ
ส�านักงานสถิติแห่งชาติเมื่อปี ๒๕๖๐ มีประมาณ ๒๐.๘ ล้านคน
จากผู้มีงานท�าทั้งหมด ๓๗.๗ ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ
๕๕.๒ แรงงานกลุ่มนี้ไม่มีระบบการออมโดยเฉพาะ
๒๓๒
แต่สามารถเลือกออมกับกองทุนประกันสังคมหรือกองทุน
๒๓๒ จาก การส�ารวจแรงงานนอกระบบ พ.ศ. ๒๕๖๐, โดย ส�านักงานสถิติแห่งชาติ, สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/DocLib13/ด้านสังคม/สาขาแรงงาน/แรงงาน
นอกระบบ/แรงงานนอกระบบ_2560/Full_report2560.pdf
๒๓๓ แหล่งเดิม.
๒๓๔ จาก เกี่ยวกับกองทุน (หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่), โดย ส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. สืบค้นจาก http://obt.nhso.go.th/obt/about
๒๓๕ จาก ระเบียบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ว่าด้วยการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบปัญหาทางสังคมกรณีฉุกเฉิน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐ และ
ระเบียบกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการว่าด้วยการสงเคราะห์ครอบครัวผู้มีรายได้น้อยและผู้ไร้ที่พึ่ง พ.ศ. ๒๕๕๒.
128