Page 128 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 128
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
แผนปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจมีประเด็นการปฏิรูปที่ ในลักษณะเดียวกันกับพื้นที่ภาคเหนือ ส่วนในพื้นที่
เกี่ยวข้องต่อสิทธิของผู้สูงอายุที่ส�าคัญ คือ ประเด็นการปฏิรูป ภาคใต้ระบุว่าผู้สูงอายุประสบปัญหาด้านสาธารณสุข
เงินบ�านาญ โดยมีแผนการเพิ่มสมาชิกกองทุนการออม มีความเหลื่อมล�้าของระบบการให้บริการทางด้านสาธารณสุข
๒๒๘
แห่งชาติ (กอช.) อันมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนโดยเฉพาะ ความไม่เท่าเทียมกันของคุณภาพและสิทธิของสวัสดิการรักษา
แรงงานนอกระบบและเกษตรกรออมเงินเพื่อการเกษียณ พยาบาลทั้ง ๓ กองทุน ได้แก่ สิทธิข้าราชการ ประกันสังคม
อายุผ่าน กอช. การอนุญาตให้ย้ายกองทุนเพื่อการเกษียณ และหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และด้านความมั่นคง
เมื่อเปลี่ยนงาน การพิจารณาทบทวนระบบการก�ากับดูแลระบบ ทางสังคม ซึ่งพบปัญหาผู้สูงอายุไม่มีผู้เลี้ยงดูหรือถูกทอดทิ้ง
๒๓๑
บ�านาญของไทยทั้งระบบ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีประเด็น
การปฏิรูปเรื่องการขยายความคุ้มครองของกองทุนประกัน การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค
สังคม โดยมีแผนงานที่ส�าคัญคือการดึงแรงงานนอกระบบ ข้อมูลจากรายงานส�ารวจประชากรสูงอายุของส�านักงาน
เข้าระบบประกันสังคม รวมถึงการเพิ่มเพดานเงินสมทบ สถิติแห่งชาติพบว่า มีผู้สูงอายุที่พึ่งพารายได้จากบุตรและ
ซึ่งจะเพิ่มเพดานจ�านวนเงินสูงสุดที่ใช้เป็นฐานในการค�านวนเงิน การท�างานถึงประมาณร้อยละ ๖๕ และมีผู้สูงอายุที่พึ่งพา
สมทบกองทุนประกันสังคมจากเดิมที่ ๑๕,๐๐๐ บาทต่อเดือน บ�าเหน็จ/บ�านาญหรือเงินออมไม่ถึงร้อยละ ๑๐ อาจสะท้อน
ให้เห็นว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่ไม่มีเงินออมส�าหรับด�ารงชีวิต
๒. รัฐได้ประกาศใช้วาระแห่งชาติสิทธิมนุษยชนร่วม หลังเกษียณอย่างเพียงพอ และเมื่อค�านึงว่าครอบครัว
ขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ไทยมีขนาดเล็กลง จึงมีแนวโน้มที่ผู้สูงอายุอาจพึ่งพาบุตร บทที่ ๔
ซึ่งคณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบและประกาศใช้เมื่อวันที่ ๒๑ ได้น้อยลง ส่วนผู้สูงอายุที่มีรายได้หลักจากการท�างาน ก็อาจ
พฤศจิกายน ๒๕๖๐ โดยมีกรอบระยะเวลาด�าเนินการ ไม่ได้มีความมั่นคงทางการเงินเพียงพอเนื่องจากเมื่ออายุ
๒๒๙
๒ ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒) ทั้งนี้ มากขึ้น ผู้สูงอายุอาจมีโอกาสท�างานได้น้อยลงจากข้อจ�ากัด
๒๓๐
จากรายงานความก้าวหน้าจากการติดตามผลการด�าเนิน ด้านสุขภาพตามวัยที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น การท�าให้ผู้สูงอายุ
งานตามแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติประจ�าปี พ.ศ. ๒๕๕๗ –
๒๕๕๘ พบว่า ในมิติป้องกันการละเมิดสิทธิมนุษยชน
กลุ่มผู้สูงอายุยังไม่ประสบความส�าเร็จและต้องเร่งเพิ่มขีด
ความสามารถด้านสิทธิมนุษยชน เนื่องจากเป็นกลุ่มเป้าหมาย
ที่มีโอกาสถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนและมีสัดส่วนที่จะเพิ่มขึ้น การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
และยังระบุถึงผลการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
จากการลงพื้นที่ระดมความคิดเห็นเพื่อสะท้อนปัญหา
สิทธิมนุษยชนในแต่ละภูมิภาคใน ๙ พื้นที่ ซึ่งผล
การวิเคราะห์ระบุว่า ในพื้นที่ภาคเหนือ ผู้สูงอายุยังคงประสบ
กับปัญหาการเข้าถึงบริการสาธารณะ คือ ปัญหาการเข้าถึง
การให้บริการทางด้านขนส่งส�าหรับผู้สูงอายุ และใน
ด้านความมั่นคงทางสังคมระบุว่า ผู้สูงอายุในพื้นที่ห่างไกล
ยังเข้าไม่ถึงสิทธิเบี้ยยังชีพของผู้สูงอายุ ในพื้นที่ภาคกลาง
และกรุงเทพมหานคร ผู้สูงอายุเข้าไม่ถึงบริการสาธารณะ
๒๒๘ จาก การปฏิรูปประเทศด้านสาธารณสุข ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยี สารสนเทศ และด้านสังคม, โดย ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สืบค้นจาก http://ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/024_3/1.PDF
๒๒๙ จาก สิทธิมนุษยชนร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน, กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม, ๒๕๖๐. สืบค้นจาก http://www.rlpd.go.th/
rlpdnew/2012-06-20-06-19-42/2015-10-09-06-34-50
๒๓๐ จาก หนังสือกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ที่ ยธ ๐๔๑๖/ว๓๖๒ ลงวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ เรื่อง แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “สิทธิมนุษยชน
ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” และสรุปผลการด�าเนินงานสิทธิมนุษยชนที่ส�าคัญของประเทศไทย.
๒๓๑ จาก วาระแห่งชาติฯ ฉบับสมบูรณ์, โดย กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ. สืบค้นจาก www.rlpd.go.th/rlpdnew/images/rlpd_10/2561/Book4.pdf
127