Page 127 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 127
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
และสิทธิที่จะมีสวัสดิการสังคม ส่วนสิทธิตามกติกา ICCPR
เป็นประเด็นสิทธิในความปลอดภัยในชีวิตซึ่งเกี่ยวข้องกับ
การถูกทอดทิ้งหรือล่วงละเมิด
รัฐได้มีการด�าเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูง
อายุอย่างต่อเนื่อง ทั้งการให้เงินช่วยเหลือเพื่อปรับปรุง
ซ่อมแซมที่อยู่อาศัย การส่งเสริมการท�างานของผู้สูงอายุ
โดยการฝึกอาชีพ การอนุมัติเงินกู้เพื่อการประกอบอาชีพ
จากกองทุนผู้สูงอายุ การให้ความรู้ทางการเงินและการออม
และการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ของส�านักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นการด�าเนินงาน
ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานต่าง ๆ
ในพื้นที่ โดยในปี ๒๕๖๐ มีมาตรการที่ส�าคัญคือ การด�าเนิน เป็นต้น ในประเด็นการปฏิรูปกลุ่มผู้เสียเปรียบในสังคม
โครงการจัดท�าศูนย์ที่พักอาศัยส�าหรับผู้สูงอายุแบบครบ รัฐได้จัดกลุ่มผู้สูงอายุไว้ในกลุ่มการปฏิรูปของผู้เสียเปรียบ
วงจร (senior complex) การมีมาตรการทางภาษี ในสังคม โดยระบุว่า จะให้ความส�าคัญกับการปรับปรุง
เพื่อจูงใจให้มีการจ้างงานผู้สูงอายุในภาคเอกชน การปรับปรุง กระบวนการคิดตลอดจนรูปแบบการด�าเนินงานจากการ
กฎหมายคุ้มครองแรงงานเพื่อให้คุ้มครองการท�างานของ “สงเคราะห์” มาเป็นการสร้างเสริม ปรับเปลี่ยนทัศนคติ
ผู้สูงอายุ และการมีนโยบายให้เงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพ จากผู้รับเป็นผู้ผลิต เพื่อให้เกิดความเข้มแข็งสามารถดูแล
แก่ผู้สูงอายุรายได้น้อยที่ลงทะเบียนรับบัตรสวัสดิการ ตนเองและสังคม โดยมุ่งเสริมสร้างศักยภาพผู้สูงอายุในการ
แห่งรัฐประมาณ ๓.๗ ล้านคน ๒๒๕ ท�างาน โดยมีกิจกรรมหลักที่วางเป้าหมายในการด�าเนินงาน
๒ กิจกรรม คือ กิจกรรมที่ ๑ ขยายอายุเกษียณราชการ
๒๒๗
ในปี ๒๕๖๑ รัฐมีการด�าเนินงานที่ส�าคัญซึ่งมีผลต่อสิทธิ จาก ๖๐ ปี เป็น ๖๓ ปี โดยใช้เวลา ๖ ปี คือ ๒ ปี ขยาย ๑ ปี
ของผู้สูงอายุดังนี้ ทั้งนี้ ไม่ครอบคลุมหน่วยงานที่ต้องใช้ศักยภาพร่างกาย
โดยมีเป้าหมายให้ข้าราชการ พนักงาน รัฐวิสาหกิจ และ
๑. รัฐได้ประกาศแผนปฏิรูปประเทศเมื่อเดือนเมษายน เจ้าหน้าที่ของรัฐเกษียณอายุที่ ๖๓ ปี ในปี ๒๕๖๗ และ
๒๕๖๑ โดยแผนปฏิรูปประเทศที่มีประเด็นที่ส�าคัญ ได้วางแผนวิธีการด�าเนินการ คือ ศึกษาความเหมาะสม
๒๒๖
ต่อสิทธิของผู้สูงอายุ อาทิ แผนปฏิรูปประเทศด้านสังคม ของต�าแหน่งที่จะขยายอายุเกษียณ และแก้ไขพระราชบัญญัติ
และแผนปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีสาระส�าคัญโดย บ�าเหน็จบ�านาญให้ขยายอายุเกษียณราชการเป็น ๖๓ ปี
สรุปดังนี้ ส่วนกิจกรรมที่ ๒ คือการแก้ไขบทบัญญัติของกฎหมาย
ที่ให้ผู้สูงอายุสามารถรับงานเป็นชิ้นงาน เพื่อให้เกิด
แผนปฏิรูปประเทศด้านสังคม มีประเด็นการปฏิรูปที่ส�าคัญ การท�างานร่วมกันตามศักยภาพและสภาพแวดล้อม
ต่อสิทธิของผู้สูงอายุ อาทิ การปฏิรูปการออมและระบบ โดยไม่ผูกพันท�างานเต็มเวลา ๘ ชั่วโมงต่อวัน อาทิ พระราชบัญญัติ
สวัสดิการ เช่น การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารกองทุน คุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ และพระราชบัญญัติ
การออมแห่งชาติ (กอช.) การสร้างระบบเพื่อให้มีบ�าเหน็จ คุ้มครองผู้รับงานไปท�าที่บ้าน พ.ศ. ๒๕๕๓
บ�านาญหลังพ้นวัยเกษียณ การพัฒนาการออมภาคบังคับ
๒๒๕ จาก รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยปี ๒๕๖๐. เล่มเดิม. (น. ๗๘-๘๕).
๒๒๖ จาก การปฏิรูปประเทศด้านเศรษฐกิจ, โดย ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/
PDF/2561/A/024_3/1.PDF
๒๒๗ แหล่งเดิม.
126