Page 126 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 126

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            จากรายงานการส�ารวจประชากรสูงอายุประเทศไทย
            ของส�านักงานสถิติแห่งชาติในปี ๒๕๖๐ พบว่า ประเทศไทย
            มีผู้สูงอายุ ๑๑.๓ ล้านคน แบ่งเป็นผู้สูงอายุวัยต้น (อายุ ๖๐-๖๙ ปี)
            ร้อยละ ๕๗.๔ ผู้สูงอายุวัยกลาง (อายุ ๗๐-๗๙ ปี) ร้อยละ

            ๒๙ และผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ ๘๐ ปีขึ้นไป) ร้อยละ
            ๑๓.๖ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ ๗๖.๒) จบการศึกษา
            ระดับประถมศึกษาหรือต�่ากว่า โดยผู้สูงอายุที่เป็นชาย
            จบการศึกษามากกว่าผู้สูงอายุที่เป็นหญิง ผู้สูงอายุประมาณ

            ๑ ใน ๓ (ร้อยละ ๓๕.๑) ยังคงท�างานอยู่ ส่วนใหญ่เป็น
            ผู้สูงอายุวัยต้น (ร้อยละ ๕๐.๕) และอัตราส่วนของผู้สูงอายุ
            ที่ท�างานจะลดลงตามช่วงวัย แหล่งรายได้หลักของผู้สูงอายุ
            ๓  อันดับแรกคือ  รายได้จากบุตร  (ร้อยละ  ๓๔.๗)

            จากการท�างาน (ร้อยละ ๓๑) และจากเบี้ยยังชีพ (ร้อยละ ๒๐)    การรับรองในกติกา ICCPR และ ICESCR เช่นเดียวกับ
            แหล่งรายได้อื่น ๆ ได้แก่ บ�าเหน็จ/บ�านาญ (ร้อยละ ๕.๙)   ประชากรกลุ่มอื่นด้วย
            จากคู่สมรส (ร้อยละ ๔.๖๐) และดอกเบี้ยการออม (ร้อยละ
            ๒.๓) นอกจากนี้ ยังพบว่าผู้สูงอายุที่อยู่ตามล�าพังมีแนวโน้ม  มาตรา ๑๑ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุแห่งชาติได้มีบทบัญญัติ  บทที่ ๔

            เพิ่มสูงขึ้น โดยในปี ๒๕๖๐ มีผู้สูงอายุที่ต้องอยู่ตามล�าพัง   เพื่อคุ้มครอง ส่งเสริม และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุได้รับสิทธิ
            คนเดียวร้อยละ ๑๐.๘ เพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๔๕ ที่มีผู้สูงอายุอยู่   ในเชิงบวกหลายประการ อาทิ การบริการทางการแพทย์
            ตามล�าพังคนเดียวร้อยละ ๖.๓  ส�าหรับสภาวะด้านสุขภาพ   และสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่
                                    ๒๒๒
            จากการให้ผู้สูงอายุประเมินตนเอง ส่วนใหญ่ประเมินว่า  ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพ

            ตนมีสุขภาพปานกลางถึงดีและดีมาก (ร้อยละ ๘๔.๙)        ที่เหมาะสม การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจาก
            สอดคล้องกับรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยปี ๒๕๖๐      การถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ
            ของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.)    ด้วยกฎหมายหรือการถูกทอดทิ้ง การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพ
            ที่ระบุว่าร้อยละ ๙๕ ของผู้สูงอายุยังสามารถท�ากิจวัตร   เป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม การสงเคราะห์ในการจัดการ

            พื้นฐานประจ�าวันได้ ๒๒๓                             ศพตามประเพณี เป็นต้น ส่วนแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒   การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
                                                                ได้ก�าหนดยุทธศาสตร์การด�าเนินงานผู้สูงอายุไว้ ๕ ด้าน
            ในการด�าเนินการของรัฐเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ    ได้แก่ ๑) การเตรียมความพร้อมของประชากรเพื่อวัยสูงอายุ
            การเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ ของผู้สูงอายุ นอกจากจะเป็นไป  อย่างมีคุณภาพ ๒) การส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ๓) ระบบ

            ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย         คุ้มครองทางสังคมส�าหรับผู้สูงอายุ ๔) การบริหารจัดการ
            พุทธศักราช ๒๕๖๐ ในหมวดที่ว่าด้วยสิทธิและเสรีภาพ     เพื่อพัฒนางานด้านผู้สูงอายุอย่างบูรณาการระดับชาติ
            ของประชาชน หน้าที่ของรัฐ และแนวนโยบายแห่งรัฐ        และการพัฒนาบุคลากรด้านผู้สูงอายุ และ ๕) การประมวล
            แล้ว ยังเป็นไปตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. ๒๕๔๖    พัฒนา  และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุ  และ

            และที่แก้ไขเพิ่มเติม  และแผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ ๒    การติดตามประเมินผลการด�าเนินการตามแผนผู้สูงอายุ
                            ๒๒๔
            พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๖๔ ซึ่งเป็นแผนระยะ ๒๐ ปี และได้มี       แห่งชาติ ทั้งนี้ ประเด็นสิทธิของผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นสิทธิ
            การปรับปรุงครั้งที่ ๑ เมื่อปี ๒๕๕๒ นอกจากนี้ รัฐยังต้อง  ตามกติกา ICESCR เช่น สิทธิที่เกี่ยวกับการท�างาน สิทธิ
            ส่งเสริมและคุ้มครองให้ผู้สูงอายุได้รับสิทธิต่าง ๆ ที่ได้รับ  ด้านสุขภาพ สิทธิในการมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ


            ๒๒๒  จาก รายงานการส�ารวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๐, ส�านักงานสถิติแห่งชาติ. สืบค้นจาก http://www.nso.go.th/sites/2014/Pages/ส�ารวจ/ด้านสังคม/
            ประชากรและสังคม/ประชากรสูงอายุ.aspx
            ๒๒๓  จาก รายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทยปี ๒๕๖๐ (น. ๔๔), โดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย, ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.dop.go.th/th/know/2/147
            ๒๒๔  พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๐.


                                                                                                              125
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131