Page 125 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 125

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



          ๓. ด้านการคุ้มครองเด็กจากการถูกแสวงหาประโยชน์ทางเพศ    นอกจากนี้  รัฐควรส่งเสริมให้ครอบครัวจัดสรรเวลา
          รัฐพึงให้การคุ้มครองและมีมาตรการฟื้นฟูเด็กที่ตก     ในการดูแลเด็กหรือมีกิจกรรมที่ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่าง
          เป็นเหยื่อของการแสวงหาประโยชน์ทางเพศในรูปแบบต่าง ๆ    สมาชิกในครอบครัวมากขึ้นเพื่อลดเวลาการใช้สมาร์ทโฟน
          อย่างเหมาะสม เพื่อให้เด็กสามารถด�าเนินชีวิตในสังคม  และคอมพิวเตอร์ของเด็กลง

          ได้อย่างปกติและไม่กลับเข้าสู่วงจรของการถูกแสวงหา
          ประโยชน์ทางเพศซ�้าอีก ในด้านการแสวงหาประโยชน์       ๕. ด้านการป้องกันการกระท�าผิดของเด็ก จากข้อมูลพบว่า
          ทางเพศจากเด็กผ่านสื่อลามกอนาจาร นอกจากการด�าเนินการ   เด็กที่กระท�าผิดมีแนวโน้มในด้านอายุที่น้อยลง และปัจจัย
          จับกุมผู้กระท�าผิดแล้ว รัฐควรสร้างความตระหนักให้พ่อแม่   ด้านความสัมพันธ์ภายในครอบครัวเป็นปัจจัยส�าคัญที่มี

          และผู้ปกครองเด็กตระหนักถึงภัยและรูปแบบของการแสวง    อิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระท�าผิดของเด็ก ดังนั้น รัฐจึง
          ประโยชน์ทางเพศจากเด็ก  รวมทั้งให้ความรู้แก่เด็ก     ควรให้ความส�าคัญในการดูแลเด็กตั้งแต่ในระดับปฐมวัย
          เพื่อให้สามารถป้องกันเด็กจากปัญหาสื่อลามกอนาจารได้   การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว
          ในประเด็นการจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควร รัฐควร   เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันและอาจเป็นการลดช่องว่าง

          ออกกฎหมายห้ามจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควรในทุก    ในการกระท�าความผิดของเด็ก นอกจากนี้ รัฐควรมีการน�า
          กรณี เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการของอนุสัญญา CRC และ   มาตรการพิเศษแทนการด�าเนินคดีอาญาตามหมวด ๗
          เพื่อให้การคุ้มครองสิทธิของเด็กเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ๒๑๘  ของพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวฯ มาปฏิบัติ โดย
                                                              ก�าหนดให้มีการจัดแผนบ�าบัดฟื้นฟูเด็กที่กระท�าผิดอย่างเป็น

          ๔. ด้านการป้องกันการละเมิดสิทธิเด็กจากสื่อออนไลน์    รูปธรรม รวมทั้งควรมีการแก้ไขระเบียบส�านักงานต�ารวจ
          รัฐควรมีมาตรการในการคุ้มครองเด็กจากภัยออนไลน์รูปแบบ   แห่งชาติว่าด้วยประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี
          ต่าง ๆ โดยร่วมมือกับภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งควรให้  ลักษณะที่ ๓๒ การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑
          ความรู้แก่ผู้ปกครองและครูในการดูแลการใช้สื่อออนไลน์  เพื่อมิให้มีการเปิดเผยประวัติการกระท�าผิดอาญาของเด็ก

          ของเด็กและวิธีรับมือกับภัยที่มากับสื่อดังกล่าว เพื่อให้  และให้เด็กที่กระท�าผิดสามารถกลับไปด�ารงชีวิตในสังคมได้
          สามารถให้ค�าแนะน�าและช่วยเหลือเด็กได้อย่างถูกต้อง


          ๔.๒ สิทธิผู้สูงอายุ



          ภาพรวม
          ภาพรวมสถานการณ์ด้านสิทธิผู้สูงอายุของประเทศไทย
          ปี ๒๕๖๑ เมื่อพิจารณาจากข้อมูลสถิติพื้นฐานตลอดจน

          ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ถึงสถานการณ์
          ของผู้สูงอายุในประเทศไทยที่ส�าคัญ พบว่า ปี ๒๕๖๐ ประเทศไทย
          มีประชากรประมาณ  ๖๙  ล้านคน  เป็นกลุ่มประชากร
          ที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ประมาณร้อยละ ๑๗  ซึ่งแสดงให้
                                             ๒๑๙
          เห็นว่าในปี ๒๕๖๐ ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุ (Ageing
          society)  แล้ว ตามเกณฑ์การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
                  ๒๒๐
          ขององค์การสหประชาชาติ
                                ๒๒๑
          ๒๑๘  แถลงการณ์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรณีการจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควร ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
          ๒๑๙  From The World Population Prospects (p.17), by United Nations Department of Economic and Social Affairs Population Division. Retrieved from
          https://esa.un.org/unpd/wpp/publications/files/wpp/2017_keyfindings.pdf
          ๒๒๐  หมายถึง สังคมหรือประเทศที่มีประชากรอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป มากกว่าร้อยละ ๑๐ ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุตั้งแต่ ๖๕ ปี มากกว่าร้อยละ ๗ ของประชากรทั้งประเทศ.
          ๒๒๑  องค์การสหประชาชาติได้ให้นิยาม ผู้สูงอายุ (Older person) หมายถึง ประชากรทั้งเพศชายและหญิงที่มีอายุมากกว่า ๖๐ ปีขึ้นไป โดยได้แบ่งระดับการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เป็น
          ๓ ระดับ ได้แก่ ๑. ระดับการก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Ageing society) ๒. ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged society) และ ๓. ระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged
          society). ดูเพิ่มเติมที่ รัชนี โตอาจ. สังคมผู้สูงอายุ : นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. ๒๕๖๐. สืบค้นจาก www.stou.ac.th/stouonline/lom/data/sec/Lom12/05-01.html

      124
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130