Page 124 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 124

รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑



            และพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยคณะกรรมการ
            ประจ�าอนุสัญญา CRC และอนุสัญญา CEDAW มีความ
            เห็นว่าการจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควรควรถือเป็น
            การกระท�าที่ก่ออันตรายให้แก่เด็ก และมีข้อเสนอแนะให้รัฐ

            ภาคีทั้งสองอนุสัญญาออกกฎหมายห้ามจัดให้เด็กแต่งงาน
            ก่อนวัยอันควร รวมถึงในการพิจารณารายงานสถานการณ์
            สิทธิมนุษยชนของประเทศไทยตามกระบวนการ UPR รอบที่
            ๒ เมื่อปี ๒๕๕๙ คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ

            มีข้อเสนอแนะให้ประเทศไทยออกกฎหมายห้ามจัดให้
            เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควรทุกกรณี นอกจากนี้ การจัด
            ให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควรเพราะความยากจนถือเป็น
            การแสวงหาประโยชน์จากเด็ก โดยเฉพาะชายสามีที่เป็นผู้ใหญ่

            ย่อมถือว่าได้กระท�าผิดต่อเด็กหลายกรณี
                                             ๒๑๗

            • การกระท�าผิดของเด็ก จากสถิติแสดงให้เห็นว่าเด็ก
            ที่กระท�าผิดส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่แยกกันอยู่ แสดงให้   ข้อเสนอแนะ                                     บทที่ ๔

            เห็นว่า แม้ในปัจจุบันปัจจัยภายนอก เช่น เพื่อน สังคม และ  ๑. ด้านการลดอัตราการเสียชีวิตของเด็กจากการจมน�้าและ
            สิ่งแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมอาจมีความซับซ้อนและส่งผล    อุบัติเหตุทางถนน รัฐควรมีมาตรการสร้างความตระหนัก
            กระทบต่อพัฒนาการของเด็กมากขึ้น แต่ความสัมพันธ์      แก่พ่อแม่และผู้ปกครองในการดูแลความปลอดภัย
            ภายในครอบครัวยังเป็นปัจจัยส�าคัญที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม   ของเด็ก รวมทั้งให้ความรู้แก่เด็กในการดูแลความปลอดภัย

            การกระท�าผิดของเด็ก นอกจากนี้ การกระท�าผิดของเด็กที่พบ   ของตนเองที่เหมาะสมกับวัย เช่น การสอนให้เด็กรู้ถึงอันตราย
            ส่วนใหญ่เป็นคดียาเสพติดและมีแนวโน้มว่าเด็กที่เข้าไป  ในการเล่นน�้าและวิธีการเอาชีวิตรอดเมื่อตกน�้า การสอน
            มีส่วนเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมีอายุน้อยลงเป็นประเด็น   ให้เด็กรู้จักวิธีการช่วยเหลือที่ถูกต้อง การป้องกันตนเอง
            ที่น่าห่วงกังวล เนื่องจากเมื่อเด็กต้องสู่กระบวนการยุติธรรม  จากอุบัติเหตุทางถนน การฝึกอบรมทักษะในการขับขี่

            ในขณะที่มีอายุและวุฒิภาวะน้อย หากไม่มีกระบวนการแก้ไข   รถจักรยานยนต์แก่เด็ก เป็นต้น                     การประเมินสถานการณ์สิทธิมนุษยชนของบุคคล ๕ กลุ่ม
            บ�าบัดเยียวยาอย่างเหมาะสม อาจน�าไปสู่การกระท�าผิด
            ในลักษณะที่รุนแรงขึ้น ทั้งนี้ รัฐมีกลไกการคุ้มครองสวัสดิภาพ   ๒. ด้านการคุ้มครองเด็กจากปัญหาความรุนแรง รัฐควรให้
            เด็กที่กระท�าผิดในขณะที่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ต้องได้รับ  ความส�าคัญกับมาตรการป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อเด็ก

            โทษ โดยเป็นกลไกตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก พ.ศ.    โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรุนแรงที่เกิดจากบุคคล
            ๒๕๔๖ เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กที่ถูกทารุณกรรม เด็กที่  ในครอบครัว รัฐควรจัดให้มีพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีองค์ความรู้
            เสี่ยงต่อการกระท�าผิด และเด็กที่อยู่ในสภาพที่จ�าต้องได้รับ   และทักษะในการดูแลเด็กที่ได้รับผลกระทบจาก
            การคุ้มครองสวัสดิภาพตามที่ก�าหนดในกฎกระทรวง ส่วนเด็ก   ความรุนแรงทั้งในด้านร่างกายและจิตใจ และพึงฟื้นฟูเยียวยา

            ที่กระท�าผิด ยังไม่มีการจัดท�าแผนบ�าบัดฟื้นฟูเด็กตามหมวด ๗    เด็กที่ได้รับผลกระทบจากปัญหาความรุนแรงโดยค�านึงถึง
            ของพระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธี         ผลประโยชน์สูงสุดของเด็ก
            พิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว  พ.ศ.  ๒๕๕๓
            และที่แก้ไขเพิ่มเติมอย่างจริงจัง




            ๒๑๗  จาก แถลงการณ์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ กรณีการจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควร ลงวันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๖๑, โดย ส�านักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ,
            ๒๕๖๑. สืบค้นจาก http://www.nhrc.or.th/NHRCT-Work/Statements-Press-Releases-Open-Letters/Statements/455แถลงการณ์คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
            แห่งชาติ-กรณีการ.aspx


                                                                                                              123
   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129