Page 123 - รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี 2561
P. 123
รายงานผลการประเมินสถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ปี ๒๕๖๑
เด็กที่ถูกด�าเนินคดีในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ จ�านวน • ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวที่มีจ�านวนสูง และผู้ได้รับ
๒๑,๓๑๖ ราย ส่วนใหญ่หรือร้อยละ ๕๗.๗๘ อยู่ในระดับ ผลกระทบส่วนใหญ่คือกลุ่มเด็กและสตรี เป็นปัญหา
การศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น รองลงมาอยู่ในระดับมัธยมศึกษา เชิงโครงสร้างจากความสัมพันธ์เชิงอ�านาจระหว่างหญิงชาย
ตอนปลายร้อยละ ๒๓.๒๙ ในจ�านวนนี้เป็นเด็กที่ไม่ได้รับ สภาพทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของสังคม รวมถึงอาจมี
การศึกษาร้อยละ ๑.๖๐ โดยร้อยละ ๖๓.๑๙ เป็นเด็ก สาเหตุมาจากปัญหาอื่น ๆ ที่มีความเชื่อมโยงกัน เช่น ปัญหา
ที่อาศัยในครอบครัวซึ่งแยกกันอยู่ ในมิติของฐานความผิด ยาเสพติด การพนัน เป็นต้น ซึ่งเมื่อเกิดความรุนแรง
ส่วนใหญ่เป็นความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดให้โทษร้อยละ ในครอบครัว อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิและเสรีภาพในชีวิต
๕๐.๑๐ รองลงมาเป็นความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ร้อยละ และร่างกาย และผลกระทบทางด้านจิตใจของเด็ก นอกจากนี้
๑๖.๕๘ และความผิดเกี่ยวกับชีวิตร่างกายร้อยละ ๙.๖๐ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัวอาจส่งผลให้เด็กที่ได้รับ
ผลกระทบมีความเสี่ยงที่จะเข้าสู่ปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหา
การประเมินสถานการณ์ ปัญหาและอุปสรรค ยาเสพติด ปัญหาอาชญากรรม เป็นต้น
การออกกฎหมาย นโยบายและมาตรการต่าง ๆ ของรัฐ
ที่มุ่งส่งเสริมคุ้มครองสิทธิเด็กแสดงให้เห็นว่ารัฐให้ • การใช้สื่อออนไลน์ของเด็กที่เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับ
ความส�าคัญและพยายามด�าเนินการต่าง ๆ ที่เป็นการส่งเสริม มิติความซับซ้อนของภัยออนไลน์ต่อเด็กในรูปแบบต่าง ๆ
และคุ้มครองสิทธิเด็ก ซึ่งสอดคล้องกับข้อห่วงกังวลของ อาจน�าไปสู่ปัญหาการละเมิดสิทธิเด็ก เช่น การกลั่นแกล้ง
คณะกรรมการประจ�าอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก อย่างไรก็ดี ผ่านอินเทอร์เน็ต (cyber bullying) ในรูปแบบต่าง ๆ
ยังพบสถานการณ์ที่น่าห่วงกังวล ดังนี้ และการล่อลวงเด็กเพื่อแสวงประโยชน์ทางเพศหรือเพื่อ
ประโยชน์อย่างอื่นจากเด็ก ในขณะที่รัฐยังไม่มีมาตรการ
• การแก้ไขระเบียบส�านักงานต�ารวจแห่งชาติว่าด้วย หรือแนวทางที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการป้องกัน
ประมวลระเบียบการต�ารวจไม่เกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ ๓๒ เด็กจากภัยออนไลน์และการถูกแสวงหาประโยชน์ทางเพศ
การพิมพ์ลายนิ้วมือ (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๑ ยังไม่เป็น ผ่านสื่อออนไลน์
ไปตามข้อเสนอแนะของ กสม. และอาจเปิดช่องให้มีการ
เปิดเผยประวัติการกระท�าความผิดทางอาญาของเด็กได้ • การให้เด็กแต่งงานก่อนวัยอันควรอาจก่อให้เกิดภาวะเสี่ยง
ในบางกรณี จึงยังไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมาย ด้านสุขภาพต่อเด็ก อาทิ ปัญหาจากโรคทางเพศสัมพันธ์
ที่เกี่ยวข้องในการคุ้มครองสิทธิเด็ก รวมทั้งไม่สอดคล้องกับ ปัญหาความรุนแรงทางเพศ ปัญหาภาวะเสี่ยงจากการตั้งครรภ์
หลักการค�านึงถึงผลประโยชน์สูงสุดของเด็กตามอนุสัญญา ก่อนวัยอันควร ทั้งนี้ การจัดให้เด็กแต่งงานก่อนวัย
CRC ต่อไป อันควรเป็นการขัดต่ออนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
122