Page 93 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 93

๑๘)  สร้างหลักประกันให้ผู้หญิงทุกคนในการเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจอย่างเท่าเทียม ได้แก่ ที่ดิน
              การผลิต การเงิน และวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เป็นต้น รวมทั้งให้ผู้หญิงได้เข้าถึงโครงการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะ

              ความสามารถด้านต่างๆ
                      ๑๙) สนับสนุนให้เกิดความลงตัวระหว่างการท�างานของผู้หญิงกับความรับผิดชอบในครอบครัวโดยการ
              สนับสนุนนโยบายที่เป็นมิตรกับครอบครัว ได้แก่ การลาคลอดและการอ�านายความสะดวกในการดูแลเด็ก การให้แม่

              ท�างานจากที่บ้าน รวมทั้งการให้หลักประกันความมั่นคงในการท�างานแก่ผู้หญิงหลังการลาคลอด โดยต้องค�านึงถึง
              ความส�าคัญกับบทบาทของผู้หญิงในครอบครัว

                      ๒๐) สร้างหลักประกันว่าผู้หญิงทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ที่ดินท�ากิน ปัจจัย
              การผลิต การเข้าถึงแหล่งเงินกู้ทั้งในระดับชุมชนและสังคม รวมถึงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผ่านกระบวนการอบรม
              ที่มีเป้าหมายเพื่อการพัฒนาทักษะและศักยภาพ

                      ๒๑) ปรับปรุงการเข้าถึงแหล่งเงินกู้ โดยพัฒนากฎหมายทางการเงิน การฝึกอบรมและเพื่อเพิ่มทักษะ
              การจัดการทางการเงิน

                      ๒๒) ให้หลักประกันว่าผู้หญิงทุกคนสามารถเข้าถึงแหล่งงานได้ รวมถึง การพัฒนานวัตกรรมการท�างานทั้ง
              ในรูปแบบของการท�างานส่วนตัว และการท�างานรวมกลุ่ม และวิสาหกิจชุมชน
                      ๒๓) จัดท�าแนวทางการตรวจสอบการเข้าถึงความเสมอภาคทางเพศ โดยออกกฎ และระเบียบที่มีขอบเขต

              กลุ่มเป้าหมายรวมถึงผู้หญิง ผู้มีฐานะยากจนและกลุ่มคนชายขอบต่างๆ เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้สามารถ
              เข้าถึงความยุติธรรม และสามารถน�าไปบังคับใช้ในการเข้าถึงทรัพยากรที่น�าไปสู่การลดปัญหาความยากจน และ

              ความไม่ยุติธรรมต่างๆ ทั้งนี้ การพัฒนาตามแนวทางกฎหมายที่ว่านี้จะต้องให้ความส�าคัญกับมุมมองความเสมอภาค
              ทางเพศทั้งในทางกฎหมาย และโอกาสการเข้าถึงความยุติธรรม สถาบัน องค์กรรัฐและภาคประชาสังคมในการสนับสนุน
              การท�างานของผู้หญิง

                      ๒๔) พัฒนาโครงการที่เหมาะสมภายใต้บรรยากาศทางสังคมที่ท�าให้รู้สึกปลอดภัยผ่านรูปแบบการท�างาน
              เครือข่าย เพื่อช่วยเหลือผู้หญิงที่มีฐานะยากจนด้วยการสร้างระบบทางการเงิน และการฝึกอบรมต่างๆ ที่สอดคล้อง

              กับความจ�าเป็นและความต้องการเพื่อเติมเต็มทักษะ และศักยภาพที่จ�าเป็นต่อการด�าเนินชีวิตของผู้หญิง
                     ๒๕) สนับสนุนให้คณะกรรมการอิสระด้านสิทธิมนุษยชนของ OIC (IPHRC) ให้ความส�าคัญต่อไปเกี่ยวกับ
              สิทธิของผู้หญิงและเด็กตามหลักการและคุณค่าของศาสนาอิสลามในด้านความยุติธรรมและความเท่าเทียม

                      ๒๖) ส่งเสริมให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน ได้แก่ องค์กรภาคเอกชน สถาบันวิชาการ ภาคประชาสังคม
              องค์การการกุศล และองค์กรสาธารณะโดยทั่วไป โดยร่วมมือกับภาครัฐในการสนับสนุนความเท่าเทียมทางเพศ

              ความยุติธรรมทางเพศ และการพัฒนาความก้าวหน้าให้ผู้หญิงในด้านการท�างาน
                      ๒๗) สนับสนุนให้สมาชิกของ OIC ได้ใช้กลไกที่มีอยู่ของ OIC ในการแลกเปลี่ยนบทเรียนและขยาย
              ความร่วมมือระหว่างกัน ตลอดจนขอเชิญชวนให้รัฐบาลได้ร่วมมือกับองค์กรพัฒนาผู้หญิงของ OIC ในการออกกฎ

              ข้อบังคับเพื่อให้มีผลบังคับใช้อย่างจริงจังในการพัฒนาบทบาทของผู้หญิงในการพัฒนากลุ่มสมาชิก OIC
















                82     ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98