Page 92 - ข้อเสนอแนะการเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้
P. 92

๕) น�าไปสู่การขจัดปัญหาความยากจน โดยการส่งเสริมให้ผู้หญิงมีงานท�าและเป็นงานที่มีคุณค่า รวมถึงขจัด
               ปัญหาเชิงโครงสร้างและกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการท�างานของผู้หญิง การเสริมสร้างโอกาสและศักยภาพ

               การพัฒนาเศรษฐกิจแก่ผู้หญิงเพื่อให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ ทั้งที่เป็นอาชีพในลักษณะการประกอบอาชีพในครัวเรือน
               และการประกอบอาชีพในอุตสาหกรรมในครัวเรือน
                        ๖) ตระหนักในความส�าคัญของบทบาทของผู้หญิงในการเป็นเกราะคุ้มกันให้กับสถาบันครอบครัวและสังคม

               ให้มีความมั่นคง ท�าการพัฒนาความถนัดและความคิดสร้างสรรค์ให้กับผู้หญิงเพื่อเพิ่มโอกาสในการมีงานท�า ตลอดจน
               ส่งเสริมให้ผู้ชายได้มีการริเริ่มเชิงบวกเพื่อขจัดอคติทางเพศและการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิง

                        ๗) การใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงในทุกรูปแบบไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน ที่ท�างาน หรือที่ใดๆ ในสังคม ถือเป็น
               การละเมิดสิทธิตามค�าประกาศสิทธิมนุษยชนแห่งอิสลาม ดังนั้น จึงต้องเน้นการให้ความเคารพในเกียรติศักดิ์ศรีของ
               ผู้หญิงและปกป้องความรุนแรงทั้งทางกายและทางจิตใจ

                        ๘) ให้ความส�าคัญต่อการสถานภาพของผู้หญิงที่ใช้ชีวิตในพื้นที่ขัดแย้ง
                        ๙) พยายามอย่างจริงจังเพื่อป้องกันการใช้ความรุนแรงต่อผู้หญิงในทุกรูปแบบ ได้แก่ การอบรมด้านกฎหมาย

               เกี่ยวกับความอ่อนไหวทางเพศ ข้อกฎหมายในกรณีผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อของความรุนแรง รวมทั้งเรียกร้องให้รัฐบาล
               สร้างกลไกในการป้องกันเหยื่อเพื่อช่วยให้เหยื่อสามารถเผชิญกับบาดแผลความเจ็บปวดทางจิตใจที่ได้รับ
                       ๑๐) จะต้องยืนยัน และทุ่มเทการท�างานให้เป็นผลอย่างจริงจังในเรื่อง “ให้ปลดปล่อยตัวประกันที่เป็นผู้หญิง

               และเด็ก รวมทั้งผู้หญิงและเด็กที่ถูกคุมขังจากความขัดแย้งที่ใช้ความรุนแรง” ซึ่งเป็นไปตามหลักกฎหมายระหว่าง
               ประเทศขององค์การสหประชาชาติเกี่ยวกับการปกป้องพลเมืองและการต่อสู้กับการจับเป็นตัวประกัน

                      ๑๑)  ให้ความส�าคัญกับการเสวนาศาสนาระหว่างผู้หญิงที่เป็นมุสลิมกับผู้หญิงในศาสนิกอื่นๆ โดยตระหนัก
               ว่าค�าสอนและคุณค่าของอิสลามนั้นย่อมไปกันได้ดีกับศาสนาอื่นๆ
                      ๑๒)  ลงมือปฏิบัติทั้งมาตรการเฉพาะ และมาตรการชั่วคราวบางประการเพื่อขจัดการเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิง

               และเด็กหญิงในกระบวนการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทุกระดับ และปฏิบัติการเพื่อเพิ่มจ�านวนของผู้หญิงในฐานะ
               ผู้แทนในการเสนอกฎหมาย การบริหารและองค์กรศาลยุติธรรม และบทบาทของผู้หญิงในภาคส่วนสาธารณะ และ

               การบริการการต่างๆ
                       ๑๓) เพิ่มโอกาสผู้หญิงให้เข้าถึงการบริการทางสังคมและสุขภาพ รวมถึงการจัดตั้งกองทุนและการสนับสนุน
               งบประมาณที่เพียงพอในการช่วยเหลือผู้หญิง/เด็กหญิง และกลุ่มคนชายขอบที่ไม่มีโอกาสเข้าถึงบริการ หรือผู้หญิง

               ที่มีฐานะยากจนในการเข้าถึงบริการทางสังคมและสุขภาพ
                      ๑๔)  ให้มีการจัดบริการทางการศึกษาให้แก่ผู้หญิง และเด็กหญิงในหลากหลายรูปแบบ เช่น การฝึกอาชีพ

               เพื่อยกระดับ เพื่อพัฒนาทักษะการท�างาน และเพิ่มศักยภาพของผู้หญิงในการเข้าถึงแหล่งงานในตลาดแรงงานได้
                       ๑๕) ปรับปรุงคุณภาพการศึกษาทุกระดับ ทั้งเด็กหญิงและเด็กชาย โดยผ่านการปรับปรุงกระบวนการเรียนรู้
               การฝึกอบรมครูผู้สอน และการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน

                       ๑๖) พัฒนาหลักสูตรในทุกระดับการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนตระหนักในเรื่องความอ่อนไหวทางเพศ เพื่อเข้าใจ
               ถึงสาเหตุที่ท�าให้เกิดอคติทางเพศทั้งในการท�างานและชีวิตทางสังคม

                       ๑๗) เพิ่มจ�านวนนักเรียน นักศึกษาหญิง ควบคู่ไปกับการคงรักษาจ�านวนนักเรียน นักศึกษาหญิง โดยการ
               สนับสนุนให้มีการจัดทุนการศึกษา การเข้าถึงแหล่งทุนทางการศึกษา การสนับสนุนครอบครัวและชุมชน การสนับสนุน
               เงินและแรงจูงใจให้กับครอบครัว รวมถึงการจัดการศึกษาภาคบังคับที่ไม่เสียค่าใช้จ่าย







                                                  ข้อเสนอแนะ การเข้าถึงความยุติธรรมของผู้หญิงมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต้  81
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97