Page 458 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 458
434
ในกรณีที่พบวําคําร๎องเรียนนั้นไมํถูกต๎องชอบธรรม ควรมีการกําหนดมาตรการเยียวยาสําหรับผู๎ถูก
กลําวหา
การส่งเสริมการศึกษาและให้ความรู้ (ข๎อ 27)
การปูองกันการคุกคามทางเพศเป็นสิ่งสําคัญที่นายจ๎างควรพิจารณานํามาใช๎ เชํนการปูองกัน
ดังตํอไปนี้
การสื่อสาร การศึกษา การฝึกอบรม
ลําพังเพียงการพัฒนานโยบายในการทํางานและกระบวนการร๎องเรียนดังกลําวข๎างต๎นอาจยังไมํ
เพียงพอ ดังนั้น นายจ๎างต๎องสื่อสารข๎อมูลเกี่ยวกับนโยบายและกลไกดังกลําวไปยังลูกจ๎างทั้งหมดรวมทั้ง
ผู๎บังคับบัญชาระดับตํางๆให๎ได๎รับความรู๎ความเข๎าใจในนโยบายและกลไกด๎วย
นายจ๎างควรจัดให๎มีโปรแกรมการฝึกอบรมเพื่อนําไปสูํความรู๎ความเข๎าใจในนโยบายเกี่ยวกับการ
ปูองกันและขจัดการคุกคามทางเพศ
นายจ๎างควรจัดให๎มีการอบรมสําหรับระดับผู๎บังคับบัญชาและระดับผู๎จัดการเพื่อให๎ตระหนักถึง
ปัญหาตลอดจนการปูองกันและแก๎ไขการคุกคามทางเพศ
จากผลการสํารวจของมาเลเซียพบวํา ในการสํารวจสถานการณ์การคุกคามทางเพศ (Sexual
harassment) โดยสหภาพการค๎ามาเลเซีย (Malaysia Trades Union Congress) ซึ่งทําขึ้นเป็นครั้งแรก
ในปี 1987 ชี้ให๎เห็นวํา ร๎อยละ 90 ของผู๎หญิงในกลุํมประชากรตัวอยํางมีประสบการณ์ถูกคุกคามทางเพศใน
ที่ทํางาน จากการสํารวจเจ๎าหน๎าที่ของรัฐในชํวงทศวรรษที่ 1990 แสดงให๎เห็นวํา ร๎อยละ 43.4 ของ
416
พนักงานชายและ ร๎อยละ 53 ของพนักงานหญิงมีประสบการณ์ถูกคุกคามทางเพศ
417
นอกจากนี้ ผลการศึกษาของ Dr Mohd Nazri Ismail & Lee Kum Chee ชี้ให๎เห็นวํา สภาพ
การทํางานในมาเลเซียยังมีทัศนคติความลําเอียงทางเพศตํอผู๎หญิงอันสํงผลให๎พนักงานหญิงมีความเสี่ยงตํอ
การถูกคุกคามทางเพศ ในรูปแบบของการใช๎วาจา ถ๎อยคํา การสื่อสาร รวมทั้งการกระทําทางกายภาพ
เหตุการณ์ดังกลําวเกิดขึ้นโดยไมํคํานึงถึงระดับการศึกษา สถานการณ์สมรส หรือเชื้อชาติของพนักงานหญิง
416
Zarina Abdul Aziz and Cecelia Ng, “Combating Sexual Harassment: The Way Forward,” Presented at
the 11th Malaysia Law Conference 8-10 November 2001, Kuala Lumpur.
417 Mohd Nazri Ismail and Lee Kum Chee “An Empirical Investigation Of Sexual Harassment Incidents In
Malaysian Workplace,” The Journal of American Academy Of Business, Cambridge 7, 1 (September,
2005).