Page 453 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 453

429


                           การกระท าความผิดตาม (ก) หรือ (ข) หรือ (ค) มีโทษจ าคุกไม่เกิน 3 ปีหรือปรับ หรือทั้งจ าทั้งปรับ


                           การกระท าความผิดตาม (ง) มีโทษจ าคุกไม่เกิน 1 ปีหรือปรับ หรือทั้งจ าทั้งปรับ”

                           หมายเหตุ : ผู๎วิจัยมีข๎อสังเกตวํา เฉพาะผู๎ชาย จึงมีความผิดฐานคุกคามทางเพศตํอหญิง ดังนั้น กรณี

                   หญิงทําการคุกคามทางเพศตํอชาย หรือหญิงคุกคามทางเพศตํอหญิงด๎วยกันเอง ไมํเป็นความผิดตาม
                   กฎหมายอินเดีย





                           4.13.3.3 กฎหมายประเทศมาเลเซีย

                           สําหรับวิธีการปูองกันและแก๎ไขปัญหาการคุกคามทางเพศในที่ทํางานของมาเลเซียนั้น อยูํบน

                   พื้นฐานแนวคิดที่วํา ปัญหาดังกลําวเกิดขึ้นในบริบทความสัมพันธ์ระหวํางนายจ๎างลูกจ๎าง หรือระหวํางลูกจ๎าง
                   ด๎วยกัน ซึ่งจัดเป็นพฤติกรรมภายในองค์กร ดังนั้นจึงมีแนวคิดและข๎อเสนอให๎มีมาตรการปูองกันและแก๎ไข
                   ปัญหาดังกลําวในระดับองค์กร (At the enterprise level) ดังนั้น ในปี 1999 กระทรวงทรัพยากรมนุษย์
                   ของมาเลเซีย (Ministry of Human Resource) จึงได๎จัดทํา “ประมวลแนวปฏิบัติในการปูองกันและขจัด

                   การคุกคามทางเพศในที่ทํางาน” (Code of Practice on the Prevention and Eradication of Sexual
                   Harassment in the Workplace) โดยมีหลักการกําหนดนิยามและวางแนวทางปฏิบัติเพื่อขจัดปัญหาการ
                   คุกคามทางเพศในที่ทํางาน ประมวลแนวปฏิบัตินี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อเป็นแนวทางสําหรับนายจ๎างในการ
                   ปูองกัน แก๎ไข และกําหนดกลไกการเยียวยาสําหรับปัญหาการคุกคามทางเพศ โดยมุํงเน๎นการปูองกันมิให๎

                   การคุกคามทางเพศเกิดขึ้น แตํหากเกิดขึ้นแล๎วก็จะมีกลไกและกระบวนการในการรับมือแก๎ไขเยียวยา
                   รวมทั้งปูองกันมิให๎เกิดปัญหานั้นซ้ําอีก อยํางไรก็ตามประมวลแนวปฏิบัตินี้เป็นเพียงแนวทางที่ภาครัฐ
                   กําหนดขึ้น (Guidelines)  โดยไมํมีผลทางกฎหมาย รัฐบาลมาเลเซียมุํงหวังให๎นายจ๎างนําเอาหลักการของ

                   ประมวลแนวปฏิบัตินี้ไปกําหนดไว๎ในข๎อบังคับการทํางานของแตํละองค์กร เพื่อปูองกันและแก๎ไขปัญหาการ
                   คุกคามทางเพศในที่ทํางาน


                           ตํอมาในปี 2012 ประเทศมาเลเซียไมํมีกฎหมายเกี่ยวกับการคุกคามทางเพศ (Sexual
                   harassment) โดยเฉพาะ ดังนั้น


                           หลักการส าคัญของ “ประมวลแนวปฏิบัติในการป้องกันและขจัดการคุกคามทางเพศในที่
                   ท างาน”


                           ประมวลแนวปฏิบัติในการปูองกันและขจัดการคุกคามทางเพศในที่ทํางาน (Code of Practice on
                                                                                         415
                   the Prevention and Eradication of Sexual Harassment in the Workplace)


                   415  Ministry of Human Resources, Code of Practice on the Prevention and Eradication of Sexual
                   Harassment in the Workplace, 1999
   448   449   450   451   452   453   454   455   456   457   458