Page 45 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 45

21


               ปฏิบัติงานด๎านสาธารณสุข 3 ฉบับได๎แกํ 1.ประกาศกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการแตํงกายของแพทย๑ ทันต

               แพทย๑ และเภสัชกร พ.ศ. 2542 2.ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแตํงกายของเจ๎าหน๎าที่ที่ปฏิบัติงาน
               ด๎านการพยาบาลและการผดุงครรภ๑ พ.ศ. 2542 และ 3.ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง การแตํงกายของ

               พนักงานผู๎ชํวยกายภาพบ าบัด พ.ศ. 2542 ให๎แกํหนํวยงานตํางๆที่สังกัดกระทรวงสาธารณสุขให๎ปฏิบัติตาม

               ระเบียบวําด๎วยการแตํงกายดังกลําวอยํางเครํงครัด โดยเฉพาะกรณีผู๎นับถือศาสนาอิสลามที่อนุญาตให๎แตํง
               เครื่องแบบตามประกาศของกระทรวงฯ และให๎ใช๎ผ๎าคลุมฮิญาบ ตามระเบียบของกระทรวงฯจึงเป็นกรณีที่

               ได๎รับการพิจารณาแก๎ไขโดยหนํวยงานที่มีอ านาจแล๎วจึงเห็นควรให๎ยุติเรื่อง  (รายงานผลการพิจารณาที่

               922/2558)


                       6) ค าร้องที่ 544/2552 และ 35/2557: กรณีบริษัทเอกชนไม่รับผู้ติดเชื้อเอชไอวีเข้าท างาน
                       ผู๎ร๎องอ๎างวํา ได๎สมัครเข๎าท างานในบริษัท ท ซึ่งเป็นบริษัทค๎าปลีกรายใหญํแหํงหนึ่งในต าแหนํงผู๎ชํวย

               ผู๎จัดการร๎านขายปลีกในห๎างสรรพสินค๎า โดยสอบข๎อเขียนและสัมภาษณ๑ ตํอมาทางบริษัทได๎สํงไปตรวจรํางกาย
               ที่โรงพยาบาล ผลปรากฏวําผู๎ร๎องติดเชื้อเอชไอวี (ผู๎ร๎องทราบอยูํแล๎ว) ทางบริษัทจึงไมํรับผู๎ร๎องเข๎าท างาน ผู๎ร๎อง

               เห็นวําเป็นการกีดกันการเข๎าท างานโดยน าเรื่องสุขภาพเป็นข๎ออ๎าง ซึ่งการติดเชื้อเอชไอวีไมํได๎สํงผลตํอคนรอบ

               ข๎าง และไมํได๎กํออันตรายตํอผู๎อื่น ผู๎ร๎องสามารถท างานได๎เหมือนบุคคลทั่วไป ผู๎ร๎องเห็นวําเป็นการละเมิดสิทธิ
               ในการประกอบอาชีพ และเลือกปฏิบัติด๎วยเหตุแหํงสุขภาพ จึงร๎องเรียนขอให๎ตรวจสอบ

                       จากรายงานผลการพิจารณาที่ 308-309/2558 พบวํา บริษัท ท. มีหนังสือชี้แจงวํา เป็นบริษัท

               จ าหนํายสินค๎าอุปโภคบริโภค และการบริการลูกค๎า โดยทางบริษัทฯได๎รับการรับรองตามหลักมาตรฐานอาหาร
               ปลอดภัย จากกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งในการปฏิบัติหน๎าที่พนักงานมีความจ าเป็นต๎องสัมผัสอาหารโดยตรง จึง

               อาจเป็นการเสี่ยงตํอผู๎บริโภค ทางบริษัทฯจึงมีแนวปฏิบัติต๎องตรวจหาเชื้อเอชไอวีส าหรับพนักงานที่ผํานการ
               สัมภาษณ๑กํอนเริ่มปฏิบัติงานทุกคนโดยไมํเลือกปฏิบัติ ทั้งนี้เพื่อรักษาหลักมาตรฐานความปลอดภัยของอาหาร

               ที่ได๎รับรองจากกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งแนวทางปฏิบัติที่ก าหนดให๎ตรวจรํางกายกํอนเข๎าท าสัญญาจ๎างนั้น
               สอดคล๎องกับแนวปฏิบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 36 ข.(2) และกฎ

               ก.พ.วําด๎วยโรค พ.ศ. 2553 โดยบริษัทมีจุดมุํงหมายเพื่อความปลอดภัยในคุณภาพและชีวิตของพนักงาน

               ตลอดจนของลูกค๎าผู๎ใช๎บริการทางบริษัทด๎วย
                       นอกจากนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติในการประชุมในด๎านการคุ๎มครองสิทธิมนุษยชน มีมติ

               (ค าร๎อง 35/2557) ให๎ตรวจสอบกรณีบริษัท ซ ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนอีกแหํงหนึ่ง ซึ่งมีนโยบายให๎พนักงานตรวจ

               เชื้อเอชไอวี เป็นเงื่อนไขในการเข๎าท างาน และปฏิเสธรับบุคคลเข๎าท างานหลังจากตรวจรํางการมีเชื้อเอชไอวี
               เชํนกัน โดยฝุายบุคคลของบริษัท ซ. เรียกนาย ส.ไปพบและแจ๎งวําไมํมีนโยบายรับผู๎ติดเชื้อเอชไอวีเข๎าท างาน

               และให๎ นาย ส. ลงชื่อในใบลาออก ซึ่งนาย ส. เห็นวําการกระท าดังกลําวเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไมํเป็นธรรม
               โดยการบังคับให๎ตรวจเชื้อเอชไอวี และใช๎เป็นเงื่อนไขในการรับสมัครเข๎าท างาน จึงขอให๎ตรวจสอบ

                       จากกรณีบริษัท ซ. ได๎เข๎าชี้แจงตํอคณะอนุกรรมการคุ๎มครองสิทธิด๎านเอดส๑ วําทางบริษัทมิได๎มี
               นโยบายประกาศในเรื่องการบังคับให๎ตรวจเชื้อเอชไอวี รวมถึงน ามาเป็นเงื่อนไขในการไมํรับสมัครบุคคลเข๎า
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50