Page 48 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 48

24


                       9) ค าร้องที่ 486/2556: กรณีนายจ้างน าข้อมูลประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณารับ

               บรรจุเข้าท างานโดยไม่เป็นธรรม
                       ผู๎ร๎องอ๎างวํา ผู๎ร๎องเคยถูกศาลพิพากษาลงโทษจ าคุกในคดีลักทรัพย๑ และรอลงอาญาไว๎ 2 ปี ตํอมาผู๎

               ร๎องได๎สมัครเข๎าเป็นพนักงานขายรถยนต๑บริษัทเอกชนแหํงหนึ่ง ผู๎ร๎องได๎ปฏิบัติงานผํานการทดลองงาน 3 เดือน

               และถูกตรวจประวัติอาชญากรรม ผลตรวจพบวําผู๎ร๎องมีประวัติถูกด าเนินคดีอาญา บริษัทปฏิเสธการบรรจุผู๎
               ร๎องเข๎าเป็นพนักงาน ผู๎ร๎องเห็นวํานายจ๎างควรพิจารณาจากผลงานการปฏิบัติงานและความประพฤติของผู๎ร๎อง

               เป็นหลัก ไมํควรน าทะเบียนประวัติอาชญากรรมในอดีตมาประกอบการพิจารณาเทํากับไมํให๎โอกาสผู๎ที่เคยท า

               ผิดได๎กลับเป็นคนดีและประกอบอาชีพที่มั่นคง ผู๎ร๎องมีความประสงค๑ให๎คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ
               ตรวจสอบ การกระท าอันไมํเป็นธรรมโดยการน าทะเบียนประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณาบรรจุ

               พนักงาน
                       ความเห็นของอนุกรรมการด๎านกฎหมายและการปฏิบัติไมํเป็นธรรม พิจารณาแล๎วมีประเด็นที่ต๎อง

               วินิจฉัยคือ การที่บริษัทเอกชนน าข๎อมูลประวัติอาชญากรรมมาประกอบการพิจารณารับบุคคลเข๎าท างานเป็น
               การกระท าหรือละเลยการกระท าอันเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือไมํ

                       คณะอนุกรรมการพิจารณาแล๎วเห็นวํา ตามค าร๎องผู๎ร๎องถูกปฏิเสธไมํรับเข๎าท างานเนื่องจากเคย

               ต๎องโทษคดีอาญาที่ปรากฏในทะเบียนอาชญากรรม จากการพิจารณาตามระเบียบส านักงานต ารวจแหํงชาติวํา
               ด๎วยประมวลระเบียบการต ารวจไมํเกี่ยวกับคดี ลักษณะที่ 12 การพิมพ๑ลายนิ้วมือ (ฉบับที่2) พ.ศ. 2556 ซึ่งเป็น

               ระเบียบใหมํ กรณีของผู๎ร๎องก็ไมํเข๎าขํายที่จะได๎รับการคัดแยกประวัติออกจากสารบบ และเมื่อพิจารณามาตรา

               4 แหํงพระราชบัญญัติล๎างมลทินในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระชน
               พรรษา 80 พรรษา พ.ศ. 2550 แล๎วนั้นกรณีผู๎ร๎องแม๎เป็นผู๎ที่ได๎รับการล๎างมลทินตามพระราชบัญญัติล๎างมลทิน

               ฯ พ.ศ. 2550 ก็มีผลแตํเพียงวําผู๎ร๎องไมํเคยถูกลงโทษในข๎อหานั้นๆ มากํอนเทํานั้น
                       เนื่องจากบริษัทเอกชนมีหลักเกณฑ๑และเงื่อนไขการพิจารณารับบุคคลเข๎าท างานแตกตํางกันไป โดย

               คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเสนอแนะเชิงนโยบายไปยังหนํวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจให๎เปิดโอกาส
               ให๎บุคคลที่เคยรับโทษโดยค าพิพากษาสามารถใช๎สิทธิในการรับสมัครรับราชการและสามารถกลับตัวเป็นคนดี

               ตํอไป

                       ความเห็นของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ เห็นวํา กรณีตามค าร๎องเป็นหลักเกณฑ๑และ
               เงื่อนไขของบริษัทเอกชนในการรับสมัครบุคคลเข๎าท างานที่แตกตํางกันโดยพิจารณาเป็นรายกรณี อยํางไรก็

               ตาม แม๎แตํในหนํวยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจยังมีการพิจารณาหลักเกณฑ๑และเงื่อนไขการรับสมัครบุคคลเข๎า

               ท างานแตกตํางกันไป โดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติเสนอแนะเชิงนโยบายไปยังหนํวยงานภาครัฐ
               และรัฐวิสาหกิจให๎เปิดโอกาสให๎บุคคลที่เคยรับโทษโดยค าพิพากษาสามารถใช๎สิทธิในการรับสมัครรับราชการ

               และสามารถกลับตัวเป็นคนดีเพื่อท าประโยชน๑ให๎กับสังคมและประเทศชาติ และเพื่อให๎เกิดความเป็นธรรมและ
               มาตรฐานเดียวดันตํอไป นอกจากนี้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติยังมีการประชุมรํวมกับหนํวยงาน

               ภาครัฐ เอกชน สมาคมตํางๆ และภาคสํวนที่เกี่ยวข๎องในการจัดน ารํองรับสมัครบุคคลที่เคยต๎องโทษคดีถึงที่สุด
               เข๎าท างาน เพื่อเป็นหลักประกันให๎ผู๎ประกอบการ ในการรับบุคคลเคยต๎องโทษเข๎าท างาน รวมทั้งการแก๎ไข
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53