Page 49 - รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง กฎหมายว่าด้วยความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
P. 49
25
ปัญหาอยํางเป็นรูปธรรม จากกรณีบริษัทเอกชนไมํรับบรรจุบุคคลเข๎าท างานเพราะเหตุมีทะเบียนประวัติ
อาชญากรรมไมํพบวําเป็นการละเมิดสิทธิมนุษยชนหรือเป็นการเลือกปฏิบัติแตํอยํางใด จึงมีมติให๎ยุติเรื่อง
(รายงานผลพิจารณาที่ 495/2558)
10) ค าร้องที่ 184/2550: กรณีผู้ที่เคยรับโทษให้จ าคุกถูกจ ากัดสิทธิในการเข้ารับราชการ
ผู๎ร๎องเคยถูกด าเนินคดีเกี่ยวกับยาเสพติดและศาลพิพากษาให๎จ าคุก 3 ปี 6 เดือน ปัจจุบันผู๎ร๎องพ๎นโทษ
เป็นเวลากวํา 5 ปี ประกอบอาชีพสุจริต ต๎องการจะสอบเข๎ารับราชการ แตํถูกจ ากัดสิทธิดังกลําว ผู๎ร๎องต๎องการ
สอบเข๎ารับราชการสังกัดรัฐสภา แตํเมื่อโทรไปสอบถามได๎รับแจ๎งวํา ผู๎ร๎องไมํมีสิทธิสอบและหากสอบได๎คะแนน
เต็มก็ไมํสามารถเข๎ารับราชการได๎ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติมีค าสั่งที่ 5/2554 มอบหมายให๎
คณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนด๎านกฎหมายและการปฏิบัติที่ไมํเป็นธรรมพิจารณาตํอไป
ประเด็นการตรวจสอบคือ การก าหนดลักษณะต๎องห๎ามของผู๎ที่จะเข๎ารับราชการของรัฐสภาตามมาตรา 37
แหํงพระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 กระทบตํอสิทธิของผู๎ร๎องหรือไมํ อยํางไร
คณะอนุกรรมการฯ พิจารณาแล๎วเห็นวํา แม๎มาตรา 37 ข (7) จะก าหนดคุณสมบัติวําต๎องไมํเป็นผู๎เคย
ได๎รับโทษจ าคุกโดยค าพิพากษาถึงที่สุดให๎จ าคุก เว๎นแตํเป็นโทษส าหรับความผิดที่กระท าโดยประมาทหรือ
ความผิดลหุโทษ แตํมาตรา 37 วรรคสอง วรรคสาม และ วรรคสี่ ได๎บัญญัติข๎อยกเว๎นเพื่อเปิดโอกาสให๎ผู๎มี
ลักษณะต๎องห๎ามตามข๎อ ข (7) ได๎รับการพิจารณายกเว๎นคุณสมบัติดังกลําวได๎ ฉะนั้นผู๎ร๎องยังอาจได๎รับการ
พิจารณาให๎เข๎ารับราชการได๎ หากคณะกรรมการข๎าราชการรัฐสภาพิจารณายกเว๎นโดยต๎องได๎คะแนนเสียงไมํ
น๎อยกวําสี่ในห๎าของจ านวนกรรมการที่มาประชุม คณะอนุกรรมการฯจึงเห็นวํา ผู๎ร๎องยังไมํถูกกระทบสิทธิใน
เรื่องการไมํสามารถเข๎ารับราชการรัฐสภา เพราะเคยต๎องค าพิพากษาถึงที่สุดให๎จ าคุกตามมาตรา 37 แหํง
พระราชบัญญัติระเบียบข๎าราชการรัฐสภา พ.ศ. 2554 (รายงานผลการพิจารณาที่ 43/2555)
11) ค าร้องที่ 229/2555: กรณีโรงเรียนไม่ออกเอกสารแสดงผลการจบหลักสูตร ให้กับนักเรียน
โดยอ้างว่าไม่จ่ายค่าบ ารุงการศึกษา
ผู๎ร๎องเป็นนายกสมาคมเครือขํายผู๎ปกครองแหํงชาติ ได๎ร๎องเรียนวําโรงเรียน ส. ไมํออกเอกสารใบ
แสดงผลการเรียน และหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา ให๎กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยอ๎างนักเรียนยังค๎าง
คําบ ารุงการศึกษา และโรงเรียนยังมีพฤติกรรมใช๎เอกสารดังกลําว เป็นหลักประกันเพื่อเรียกเก็บเงินคําบ ารุง
การศึกษาย๎อนหลังจากนักเรียนบํอยครั้ง ท าให๎นักเรียนหลายรายต๎องเสียสิทธิและโอกาสในการเข๎าศึกษาตํอใน
สถานศึกษาอื่น
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติพิจารณาเห็นวําเป็นประเด็นเกี่ยวข๎องกับสิทธิเสรีภาพใน
การศึกษา อันเป็นสิทธิและเสรีภาพที่ได๎รับรองหรือคุ๎มครองไว๎ในรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
จึงเป็นกรณีเกี่ยวข๎องกับสิทธิมนุษยชนและอยูํในอ านาจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ พิจารณาตามมติของคณะอนุกรรมการตรวจสอบการละเมิด
สิทธิมนุษยชนด๎านเด็ก สตรี และความเสมอภาคของบุคคล แล๎วเห็นวํา ตามรัฐธรรมนูญแหํงราชอาณาจักรไทย